คลื่นการเมืองก่อนการเลือกตั้งเมื่อพลเอกเปรม ถูกถวายฎีกา
สำหรับเรื่องของการถวายฎีกานั้น แหล่งข่าวในกลุ่มกล่าวว่าเริ่มค้นคิดกันเมื่อกลางเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สำหรับคำถามที่ว่าทำไมถึงเลือกวิธีการถวายฎีกานั้น รศ. ธงทอง จันทรางศุ รองคณะบดีฝ่ายปกครอง คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ลงชื่อในฎีกาดังกล่าวได้ ให้คำตอบที่ชัดเจนว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ฎีกา
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้าผู้มีรายนามข้างท้ายนี้ ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทถวายความเห็นเกี่ยวด้วยสถาพการณ์และสถานการณ์บ้านเมือง ดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ใครจะโค่นพลเอกเปรมได้?
เปรม 5-คือรัฐบาลชุดนี้ที่เป็นการผสมผสานดุลกำลังระหว่างพลเอกเปรมกับพรรคการเมืองสี่พรรคด้วยระยะเวลาเพียงสั้น
ๆ นั้น ริ้วรอยแห่งความแตกแยกหลายระดับโดยเฉพาะในส่วนของพรรคร่วมรัฐบาลได้ก่อให้เกิดความเชื่อที่ยิ่งทวีขึ้นว่า
เปรม 5 อาจจะต้องถึงคราวล่มสลายภายในระยะเวลาที่เร็วกว่าที่คิด ๆ กันเสียอีก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
ฝ่ายค้านคุณภาพและความแค้น
เมื่อการจัดตั้งรัฐบาลเสร็จสิ้นอย่างเป็นทางการ และมองเห็นแล้วว่าใครบ้างที่ต้องเป็นฝ่ายค้าน
ผู้ที่ติดตามการบ้านการเมืองมาโดยตลอด ต่างมีความเห็นใกล้เคียงกันว่า ฝ่ายค้านชุดนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อรัฐบาลเปรม
5
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
มีใครบ้างที่ไม่ต้องการพลเอกเปรม
สถานีวิยุ บี.บี.ซี. กรุงลอนดอนได้นำบทรายงานข่าวเกี่ยวกับการจัดตั้งรัฐบาลไทย
"ไฟแนนเชี่ยล ไทม์" ไปออกอากาศ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคมที่ผ่านมามีใจความสำคัญตอนหนึ่งว่า
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
บนเส้นทางที่ไร้คู่แข่งของพลเอกเปรม
นอกจากความสนใจว่าพรรคการเมืองแต่ละพรรคจะมีผู้สมัครชนะการเลือกตั้งเข้าสู่สภาเป็นจำนวนมากหรือน้อยเท่าไรแล้วดูเสมือนว่าความสนใจเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของรัฐบาลใหม่ภายหลังการเลือกตั้ง
ตลอดจนตัวบุคคลที่จะได้รับการโหวตให้เข้ารับตำแหน่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล
ก็เป็นจุดสนใจอีกจุดหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
จำลอง ศรีเมือง...นายกรัฐมนตรีคนต่อไป?
"พลตรีจำลอง ศรีเมือง ไม่ใช่คนโง่ แกเล่นการเมืองเป็น ที่แกบอกว่าเป็นหน้าที่แกนั่นแหละเป็นการเมืองที่แกต้องเล่น" เผด็จ ภูรีปฏิภาณ คอลัมนิสต์คนดังที่ใช้นามปากกา "พญาไม้" ในหนังสือพิมพ์ข่าวสด พูดกับ "ผู้จัดการ"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
ใครคือชี้คซาเลห์?
ชื่อเต็มๆ ของผู้ถือหุ้นใหญ่อาราเบียน-ไทย อินเวสเม้นต์คนนี้ก็คือ ชี้คซาเลห์ อับดุลลาห์ คามิล เกิดที่นครเมกกะประเทศซาอุดีอาระเบียเมื่อปี 1941 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ ว่ากันว่าท่านชี้คซาเลห์มีความสนิทสนมเป็นอันดีกับบุคคลสำคัญในภาครัฐบาลของซาอุดีอาระเบีย ดังนั้นจึงเริ่มทำงานด้วยการเป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ก่อนจะหันมาเอาดีด้านธุรกิจและต่อมาก็กลายเป็นนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จสูงคนหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
อารมณ์บุญชู เสียไปหมด
"รัฐบาลเท่าที่ผ่านมา ก็อย่างที่ท่านข้าราชการทั้งหลายว่า คือ... ความจริงรัฐบาลท่าน ไม่ได้เขียนคน กำหนดนโยบายอะไรหรอก ข้าราชการต่างหาก และก็เป็นเรื่องจริงครับที่ว่า คนเขียนนโยบาย มันคนละคนกันกับรัฐบาลครับ นี่เป็นเรื่องจริง... ผมเข้าไปเป็นรัฐบาลครั้งที่สองเนี่ย พอเข้าไปถึงนะ เขามีนโยบายเสร็จไว้แล้ว กระผมก็ไม่ยอม ผมบอกว่า เอ๊ะ คุณจะทำหรือผมจะทำ ต่อรองกันต่อรองกันมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2526)