รักษ์โลก...ทำได้ทุกวัน
กรุงเทพมหานคร โดยสำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักงานเขตจตุจักร มูลนิธิโคคา-โคลา ประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม (TIPMSE) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือใน โครงการจัดการมูลฝอยและวัสดุรีไซเคิลแบบครบวงจรในแขวงจตุจักร เขตจตุจักร
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
“ขยะ” ในมือรัฐ “ขุมทรัพย์” ของคนที่เห็นค่า
มนุษย์คือเครื่องจักรผลิต "ขยะ" ที่ไม่เคยหมดแรงอ่อนกำลัง หากปริมาณขยะเป็นกระจกสะท้อนสภาพเศรษฐกิจ วินัยการบริโภค และความพอเพียงของสังคมไทย กระบวนการจัดการขยะก็คงเป็นกระจกสะท้อนวิสัยทัศน์และวิธีคิดของเจ้าหน้าที่รัฐได้เป็นอย่างดี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
กรุงเทพมหานคร เกมบริหารของเซียนเหนือเซียน
ท่ามกลางบรรยากาศการเรียกร้องประชาธิปไตยของภาคประชาชนอันร้อนแรงในช่วงนี้ ได้กลบความสนใจเวทีการเมืองท้องถิ่นของกรุงเทพมหานครที่เคยมีความสำคัญระดับชาติทุกครั้งในฤดูกาลเลือกตั้งผู้ว่าราชการ จนกระทั่งผู้ว่าราชการคนที่ 15 ครบวาระ ก็ยังหาตัวผู้สมัครที่โดดเด่นมาเผยโฉมให้ฮือฮากันไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
กรุงเทพฯ วันนี้...มหานครแห่งปัญหา
กรุงเทพฯ ในวันวานเมื่อกว่าร้อยปีมาแล้ว คือภาพความงดงามของเมืองแม่น้ำลำคลองที่มีต้นไม้ร่มครึ้มสองฟากฝั่ง มีเรือพายค้าขายกันเป็นประจำทุกวัน ผู้คนหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส ทักทายกันด้วยโอภาปราศรัยทันทีที่พบเห็นหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
โอ้.....กรุงเทพฯ ร.ศ.๒๒๗
หากสถานการณ์บ้านเมืองอยู่ในระดับปกติ ความเคลื่อนไหวเพื่อรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งกำหนดไว้ในวันที่ 5 ตุลาคม 2551 คงดำเนินไปด้วยบรรยากาศคึกคักกว่าที่เป็นอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
คนกรุง 6 ล้านคน มีพื้นที่สวนสาธารณะเพียง 1,600 ไร่ !
กรุงเทพมหานครมีสวนสาธารณะ 8 แห่งอยู่ภายใต้การดูแลของกองสวนสาธารณะ สำนักสวัสดิการสังคม
กทม. ได้แก่ สวนลุมพินี สวนจตุจักร สวนพระนคร สวนสราญรมย์ สวนสราญรมย์ สวนธนยุรีรมย์
สวนหลวงร.9 สวนน้ำบึงกุ่ม และสวนหนองจอก ส่วนอีก 1 แห่งคือ สวนคลองจั่นนั้นดูแลโดยการเคหะแห่งชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)