ชวนป๋วยปี่แปกอ ลูกกตัญญูยุค "เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์"
หากเอ่ยชื่อ "ยาน้ำเชื่อมแก้ไอ ชวนป๋วยปี่แปกอ ตราลูกกตัญญู" มั่นใจได้ว่า ชาวจีนหรือลูกจีนในประเทศไทยแทบทุกคนคงรู้จักเป็นอย่างดี เช่นเดียวกับคนไทยที่น่าจะคุ้นเคยอยู่ไม่น้อย ส่วนจะเคยลิ้มลองรสหรือเปล่านั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
สมุนไพรในสังคมไฮเทคโอกาสธุรกิจของเวชพงศ์รุ่นที่ 3
เมื่อเอ่ยชื่อ "เวชพงศ์" สิ่งที่คนทั่วไปนึกถึงคงหนีไม่พ้นน้ำผึ้งซึ่งกลายเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วน้ำผึ้งเป็นเพียงสินค้าตัวหนึ่งของบริษัทและเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ 18 ปีที่ผ่านมา ในขณะที่ธุรกิจของกลุ่มเวชพงศ์ หรือที่รู้จักกันดีในอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮก อัน ตึ้ง" นั้นดำเนินต่อเนื่องมานานกว่า 80 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
"วัฒนา เขียววิมล : ผู้ยกโรมาเนียมาไว้ที่รังสิต"
'เพคโก' หรือบริษัทพับบลิค เฮลธ์ แอนด์ เอนวิรอเมนทัล จำกัด (PHECO : PUBLIC
HEALTH & ENVIRONMENTAL CO.,LTD.) ซึ่งเดิม เป็นบริษัทนำเข้าและจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์จากประเทศต่าง
ๆ ที่มาลงนามในสัญญาร่วม ทุนและเทคโนโลยีกับ THE ROMANIAN NATIONAL INSTITUTE
OF GERONTOGY &
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2537)
"ซอนเซอราย ลี กับความลับทางการแพทย์"
บนโต๊ะทำงานของ "ซอนเซอราย ลี" ที่แฟลตย่านไทม์สแควร์ เมืองนิวยอร์ค
มีกองหนังสือและวารสารการแพทย์วางสูงท่วมหัว เธอพลิกตำราแล้วมาหยุดอยู่ที่รูป
"ชวน ฟู่ หว่า" (XUAN FU HUA) ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรที่พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน
และใช้เป็นยาแผนโบราณรักษาโรคทางเดินหายใจ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2537)
คุณเข้าใจเรื่องวิตามินถูกต้องแค่ไหน?
คนทั่วไปมักมีความเชื่อว่า วิตามินเป็นอาหารที่ร่างกายต้องการไม่น้อยไปกว่าสารอาหารประเภทอื่น ๆ ผู้ปกครองจำนวนมากชอบบังคับให้ลูก ๆ รับประทานวิตามินทั้งชนิดเม็ดและน้ำด้วยความเชื่อว่า วิตามินสามารถทำให้เด็ก ๆ แข็งแรงเติบโตได้อย่างดี
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
"สิทธิบัตรยาไม่ควรพิจารณาบนกรอบของการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์"
ท่านผู้อ่านที่ติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหวทางด้านเศรษฐกิจในหน้าหนังสือพิมพ์คงเคยได้ ยินเรื่องราวเกี่ยวกับประเด็นปัญหาข้อถกเถียงเกี่ยวกับสิทธิบัตรยาในประเทศอยู่เนือง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะหลังประมาณ 2-3 ปีที่ผ่านมา มีการพูดถึงประเด็นปัญหาในเรื่องนี้บ่อยครั้งมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งได้มีการนำเรื่องสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีศุลกากรหรือที่เรียกว่า G.S.P.ซึ่งประเทศไทยได้รับสิทธิประโยชน์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
โควตาร้านยาโรคเรื้อรังที่รอรักษา
การกำหนดจำนวนสถานที่ขายยาเป็นปัญหาเรื้องรังมานานนับ 10 ปี มีการต่อสู้ระหว่างกลุ่มเภสัชกรที่ต้องการยกเลิกโควตาและสมาคมร้านขายยาที่ต้องการคงระบบโควตาไว้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
สำลี ใจดี กับแนวคิดห้องยาชุมชน
สำลี ใจดี เป็นผู้หญิงร่างสูงใหญ่กว่ามาตรฐานหญิงไทยทั่วไป เธอสอนหนังสืออยู่ที่คณะเภสัชศาสตร์มานานหลายสิบปี
บรรดานักศึกษาเภสัชศาสตร์ต่างรู้จัก "อาจารย์สำลี" เป็นอย่างดี
สำลีเคลื่อนไหวร่วมกับกลุ่มศึกษาปัญหายาและมูลนิธิเกี่ยวกับยาอีกมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)