จักรพันธ์ ยมจินดา "มิสเตอร์ มัสแตง"
เมื่อประมาณกลางปี 2531 บริษัทผู้ผลิตยางรายใหญ่ของญี่ปุ่นอย่างบริดจสโตนก็สามารถเข้าเทคโอเวอร์บริษัทผุ้ผลิตยางคู่รักคู่แค้นไฟร์สโตนได้เป็นผลสำเร็จ
เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้บริษัทยางสยามของค่ายปูนใหญ่อย่างปูนซิเมนต์ไทย ต้องเกิดการปรับตัวครั้งสำคัญเพื่อที่จะสามารถดำรงอยู่ได้ในวงการยางรถยนต์ที่นับวันก็เพิ่มความเข้มข้นของการแข่งขันขึ้นทุกที
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
ไทยรุ่งยูเนียนคาร์ นักบุกเบิกพัฒนาแบบไทย ๆ ขนานแท้
ไทยรุ่งฯ กำเนิดขึ้นจากจุดเล็ก ๆ โดยคู่สามี-ภรรยาคู่หนึ่ง วิเชียรถนัดทางด้านงานช่าง ปราณี ดูแลเรื่องเงินทอง จากจุดเล็ก ๆ วันนี้ของไทยรุ่งฯ กลายเป็นอาณาจักรที่มีขนาดที่ตั้งโรงงานเป็นร้อยไร่ คนงานเฉียดพันคน และยอดขายกว่า 400 ล้านบาท ก็คงต้องนับว่ามาได้ไกลพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
วิชัย เชิดชัย รอได้รอ รุกได้รุก
เขาคนนี้ "ผู้จัดการ" เคยเขียนถึงไปแล้วพร้อมคำขานรับที่เป็นจริงว่า เขาคือ 1 ใน 3 คหบดีที่ "รวยจริง" อีกทั้งอิทธิพลบารมีก็มีคลุมไปทั่วภาคอีสาน ขณะเดียวกันก็มีเสียงย้ำติงค่อนข้างหนักแน่น ว่าบนถนนธุรกิจเขาและเมียขึ้นชื่อลือชานักในความ "หิน" ที่มากมายหลายรูปแบบ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ไทยบริดจสโตน คิวซีแห่งแรกของเมืองไทยไปถึงไหนแล้ว
ในตำราของสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำราที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่นใช้สอนเรื่องคิวซีให้กับบริษัทและองค์กรต่าง
ๆ มีบันทึกตอนหนึ่งในบทของคิวซีเมืองไทยว่าในปี 2518 บริษัทไทยบริดจสโตน
จำกัด เป็นบริษัทแรกในเมืองไทยที่เริ่มนำระบบคิวซีเซอร์เคิลมาใช้อย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
พิมพ์ใจ ลี้อิสสระนุกูล คนที่ 2 ของรุ่นที่ 3 "นักตามรอย"
"ลี้อิสสระนุกูล" วันนี้ไม่เล็กเลยเมื่อย้อยกลับไปเทียบ 70 สิบปีที่แล้ว
ครั้งที่กนก ลี้อิสสระนุกูล จากเมืองจีนเข้ามาตั้งรกรากซ่อมจักรยานอยู่ที่ตลาดน้อยจนถึงรุ่นที่
2 ที่ดำเนินกิจการรับช่วงจากกนก ซึ่งเสียชีวิตลงเมื่อปี 2516 คือ ปริญญา, วิทยา
ลี้อิสสระนุกูล และกัลยาณี พรรณเชษฐ์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)