หุ้นน้องใหม่กลุ่มยานยนต์
เพิ่งเข้าทำการซื้อขายวันแรกเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม วันถัดมาก็ขึ้นเครื่องหมาย XD เพื่อจ่ายปันผลจากผลการดำเนินงานงวดปี 2547 ให้กับผู้ถือหุ้นทันที ในอัตราหุ้นละ 10 สตางค์ เรียกว่าเป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยสร้างความน่าสนใจให้กับหุ้นของบริษัทสหมิตรเครื่องกล หรือ SMIT ได้โดยไม่ต้องใช้กรีนชู ออปชั่น มาช่วยเหมือนกับหุ้นใหม่ หลายๆ ตัวในช่วงหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
ปูนซิเมนต์ไทย การขายหุ้นบริษัทที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักยังมีอีก
ช่วง 2 ปีเศษที่ผ่านมา ถือเป็นช่วง ที่เครือซิเมนต์ไทย ได้ทยอยขายหุ้น และขายกิจการออกมาอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลพวงจากนโยบายลดบทบาทในบริษัทที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักลง คงเหลือธุรกิจที่จะเป็นธงนำของเครือเพียง 3 กลุ่มคือซีเมนต์ ปิโตรเคมี และกระดาษ ล่าสุดเมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทสยามมิชลินกรุ๊ปลง 10% จากเดิมที่ถืออยู่ 50% เหลือเพียง 40% โดยขายหุ้นส่วนดังกล่าวให้กับบริษัทมิชลิน ซึ่งเป็นผู้ร่วมทุนจากจากฝรั่งเศส ที่จะกลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสัดส่วน 60% แทน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
"อะไหล่รถแพง ! มหกรรมมัดมือชก"
อะไหล่แพง..กลายเป็นสภาวะจำยอมของคนใช้รถเข้าศูนย์บริการไปแล้ว ขณะที่อยากจะใช้อะไหล่ถูกก็ต้องไปบริการอู่ซ่อมข้างถนน พร้อมกับความหวั่นวิตกที่ว่าอู่เหล่านี้ใช้ "อะไหล่ปลอม" ทำไมอะไหล่รถต้องแพง อะไหล่ปลอม ทำถึงได้ชื่อว่าปลอม ทั้งที่คุณภาพอาจจะไม่แตกต่างกัน ศูนย์บริการฟันกำไรมหาศาลจากค่าอะไหล่จริงหรือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
"สามมิตรมอเตอร์ข้ามรัฐไปสร้างรถที่ฉางชุน"
เชาว์ โพธิศิริสุข แห่งกลุ่มสามมิตรมอเตอร์เป็นหนึ่งในตัวอย่างของผู้ประกอบการที่ถึงพร้อมด้วยกำลังทุน
สติปัญญาความสามารถ และขนาดของหัวใจที่พร้อมจะลุยไปข้างหน้า สร้างความฝันให้เป็นจริง
ขาดอยู่อย่างเดียวคือการสนับสนุนจากรัฐที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการเหล่านี้ยืนอยู่ได้อย่างมั่นคง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"อาทิตย์ ประทุมสุวรรณ แม่ทัพ "มาแรง" ของสยามอัลลอยวีลฯ"
สยามอัลลอยวีล อุตสาหกรรม เจ้าของล้อแม็กน้องใหม่ "ASTON" เป็นผู้มาใหม่ในตลาดล้อแม็กที่มีมูลค่าสองพันล้านบาท
แต่ก็เป็นคนหน้าใหม่มีแบ็คอัพแข็งโดยอาศัยความชำนาญด้านช่องทางการจัดจำหน่ายของบริษัทยางสยาม
จุดนี้ทำให้ล้อแม็ก ASTON แจ้งเกิดได้โดยไม่ต้องยำเกรงเจ้าตลาดอย่างเอนไกไทย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
"ขบวนการล้อแม็กบราบัสปลอม"
คดีความข้อหาละเมิดลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้าบนล้อแม็กที่ค้างคาอยู่ในศาลขณะนี้มีอยู่ด้วยกันสองเรื่อง
เรื่องแรกเป็นดดีปลอมล้อแม็ก "BRABUS" เรื่องที่สองคือคดีปลอมล้อแม็ก
"เอนไก"
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"ซัมมิท โอโตซีทกรุ้ป" จำเป็นต้องโตต่อไป"
"ความสำเร็จในการซื้อกิจการสนามกอล์ฟไพน์เฮิร์ท แต่ต้องล้มเหลวในการซื้อกิจการไอทีเอฟหลังจากที่กลุ่มซัมมิท
ยักษ์ใหญ่ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของ "สรรเสริญ จุฬางกูร" พี่ใหญ่ของตระกูลพี่น้องสกุล
"จุฬางกูร" และ "จึงรุ่งเรืองกิจ"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
"การกลับมาของพีแรลลี่"
ช่วงไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงที่ผู้คนให้ความสนใจเกี่ยวกับรถยนต์กันมาก โดยเฉพาะรถสปอร์ตนำเข้าจากอัตราส่วนแบ่งของรถนำเข้าย้อนหลัง ไปก่อนการปรับโครงสร้างภาษีอัตรารถนำเข้าคิดเป็นสัดส่วนเพียง 5% ของปริมาณจำหน่ายรถที่ประกอบในประเทศ แต่ ณ วันนี้คนในวงการให้ความเห็นว่า รถนำเข้าเริ่มทวีอัตราเร่งขยายตัวอย่างรวดเร็วอยู่ในสัดส่วนเกือบ
10% เลยทีเดียว ซึ่งอัตราการเติบโตนี้นับห่างกันแค่ช่วง 6 เดือนเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"ปล่อยเสรีโรงงานประกอบรถเพื่อประสิทธิภาพของอุตสาหกรรมนี้"
ผมขอพูดเรื่องนี้ ในฐานะผู้ปฏิบัติ ไม่ใช่นักวิชาการ อุตสาหกรรมรถยนต์ มันเป็นอุตสาหกรรมที่เริ่มเติบโตมาจาอุตสาหกรรมชิ้นส่วนเป็นเบื้องต้น แต่ประเทศไทยอุตสาหกรรมชิ้นส่วนที่มันเติบโตช้ามาก ๆ ก็เพราะว่ารัฐ บาลไม่ได้ให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนเลย แต่กลับให้ความสนใจโรงงานประกอบ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)