"TEN & CO ยุทธศาสตร์ข้ามพรมแดนของ พีน่ากรุ๊ป"
พีน่ากรุ๊ปกำลังจูนทิศทางธุรกิจเสื้อผ้าสู่ MASS PRODUCRS เป็นการพลิกยุทธศาสตร์สู่ฐานกำลังการซื้อ "คนรุ่นใหม่" ที่มีนัยต่อวอลุ่มการขาย 2-3 ปีที่ผ่านมาภายในพีน่ากรุ๊ปมีการเตรียมความพร้อมหลายประเด็น มิติแรกเพื่อตั้งรับเกมการแข่งขันซึ่งจะเพิ่มความรุนแรงขึ้นอีกหลายเท่าตัว แต่มิติหลังกลับกลายเป็นการจัดทัพเพื่อหวนทดสอบกำลังในตลาดต่างประเทศอีกครั้งหนึ่ง TEN&CO คือ สินค้ายุทธศาสตร์ที่สุพจน์ ตันติจิรสกุลหมายมั่นปั้นมือให้เป็นหัวหอก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
TEN & CO เครือข่ายค้าปลีกเสื้อผ้า
ในภาวะที่ธุรกิจเสื้อผ้ายังเติบโตอย่างไร้ขีดจำกัดเช่นทุกวันนี้ ช่องทางการตลาดที่มีอยู่ครอบคลุม
และอยู่ในทำเลที่มีประสิทธิภาพ ดูจะเป็นไม้เด็ดสำคัญซึ่งหากค่ายใดมีไว้ ก็เหมือนมีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
"ทีเอส แอลิแกนซ์ ก้าวใหม่ของไทยซิน"
ไทยซินอุตสาหกรรม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2493 หรือกว่า 40 ปีที่แล้ว ด้วยการร่วมทุนของนักธุรกิจไทยและญี่ปุ่น
สินค้าตัวแรกที่ไทยซินเริ่มทำตลาดคือ เครื่องสำอาง "คาเนโบ" ซึ่งเป็นเครื่องสำอางรุ่นแรก
ๆ ที่มีใช้กันในเมืองไทย ถัดจากนั้นก็มาถึงแชมพู "แฟซ่า" หรือยาย้อมผม
"บีเง็น" แป้ง และครีมบำรุงผิว "อีมูน" ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่กล่าวมา
ต่างเป็นที่รู้จักกันไม่น้อยในหมู่ผู้บริโภคคนไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2537)
สูทไม่ธรรมดา... สำหรับคนไม่ธรรมดา
คำโบราณที่ว่า “ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง” มีความหมายและนัยสำคัญในตัวของมันเองอยู่ชัดเจน
เมื่อบวกกับความก้าวหน้าของวงการธุรกิจ ที่มีการกล่าวถึงกันเสมอว่าประเทศไทยกำลังจะกลายเป็น “เสือตัวที่ 5” ของเอเชียต่อจากเกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกงและสิงคโปร์ ภาพของเศรษฐกิจไทย ก็กลายเป็นภาพสากลที่มีความเป็นนานาชาติมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
รอยฝันที่ยังขรุขระของดีไซเนอร์ไทย
ทางการได้ประมาณการตัวเลขการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปหรือการ์เม้นต์ในปีนี้ว่าจะมียอดประมาณ
76,000 ล้านบาท มันเป็นตัวเลขที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าอุตสาหกรรมนี้มีความหมายที่สำคัญที่สุด
ต่อการสร้างรายได้ประชาชาติของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
เกียรติชัย บุญพร้อมสรรพ ไฝโปรดิวส์กับธุรกิจเสื้อฟ้า "เปรี้ยว"
การทำงานแบบ One Man Show ในวันนี้ยังใช้ได้สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีความเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
โดยเฉพาะธุรกิจเกี่ยวกับวัยรุ่นที่การตัดสินใจซื้อเกิดจากความพอใจมากกว่าเหตุผล...เกรียติชัย
บุญพร้อมสรรพ หรือ "ไฝ" เข้าใจเรื่องนี้ เขาจึงมีโอกาสเกิดและเวียนว่ายอยู่ในธุรกิจสินค้าเกี่ยวกับวัยรุ่นด้วยการเริ่มจากเงินพันเมื่อวันวาน...เป็นเงินล้านในวันนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
เมื่อโปโลซัดกับโปโล จะผิดกันตรงตีข้างบนกับตีข้างล่าง
ตอนนี้ดูเหมือนว่าจะเกิดความวุ่นวายยกใหญ่ขึ้นมาแล้วเกี่ยวกับเสื้อผ้าประเภทยี่ห้อติดอกรายหนึ่งของอเมริกา เสื้อยืดยี่ห้อคลาสสิกซึ่งเป็นที่นิยมมากยี่ห้อหนึ่งในกลุ่มไฮโซไซตี้ของเมืองไทย คือ โปโล อันเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำรายได้ให้กับบริษัทราล์ฟ ลอเรน มานานแสนนาน กำลังประสบปัญหาแมวขโมยที่อ้างสิทธิ์ของตนในอันที่จะใช้สัญลักษณ์คนขี่ม้าเล่นโปโลเหมือนกัน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)