ความบาดหมางระหว่างเจ้าพ่อแฟชั่น แบร์นาร์ด อาร์โนลต์ และฟรองซัวส์ ปิโนลต์
ชาร์ลส์ เฟรเดริค เวิร์ธ (Charles Frederic Worth) ฌาคส์ ฟาธ (Jacques Fath) เชียปาเรลลี (Schiaparelli) บาเลนเซียกา (Balenciaga) ฌาน ลองแวง (Jeanne Lanvin) คริสติออง ดิออร์ (Christian Dior) อูแบรต์ เดอ จีวองชี (Hubert de Givenchy) อีฟส์ แซงต์-โลรองต์ (Yves Saint-Laurent) เหล่านี้ล้วนแต่เป็นชื่อห้องเสื้อชั้นสูงซึ่งเจ้าของชื่อเป็นผู้ก่อตั้ง เป็นช่างเสื้อและดีไซเนอร์ เป็นผู้จุดประกายแฟชั่นด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2552)
DOMON MAN RETURN
"ที่ผ่านมาโดมอนไม่ได้หายไปไหน เพียงแต่เราใช้เวลาไปกับการชำระหนี้ 100 ล้านบาท แต่ตอนนี้หนี้ของเราหมดแล้ว และลูกๆ ก็เรียนจบ มาช่วยสานงานต่อ เราพร้อมออกมาทำตลาดอีกครั้ง" เป็นคำพูดของบุญศักดิ์ วัฒนหฤทัย กรรมการผู้จัดการ บริษัทโดมอน (1978) จำกัด ที่ปลุกปั้นแบรนด์โดมอนมาด้วยมือของเขาเอง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
ผลิตภัณฑ์จากยุคตื่นทอง
ในช่วงยุคตื่นทองมีพ่อค้านักธุรกิจจากทั่วโลกที่เล็งเห็นช่องทางการทำมาค้าขายในดินแดนแห่งนี้ จนทำให้ซานฟรานซิสโกกลายเป็นบ้านเกิดของธุรกิจหลากหลายประเภท โดยที่บางกิจการยังคงดำเนินต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ ดังเช่นธุรกิจของ Levi Strauss
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
กรณีศึกษาของ Imabari Towel
ยุทธศาสตร์การสร้างแบรนด์ Imabari Towel ได้นำเสนอกรณีศึกษาที่แฝงประเด็นน่าขบคิดให้กับสังคมญี่ปุ่น ซึ่งกำลังทวงถามถึงคุณค่าของสินค้า High-end ในระดับ World Class ที่ครั้งหนึ่งถูกทำให้จืดจางไปไม่เพียงแต่เฉพาะผ้าขนหนูเท่านั้น ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาสินค้าต้นทุนต่ำซึ่งผลิตจากต่างประเทศถาโถมสู่ญี่ปุ่นมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งชนิดและปริมาณซึ่งเป็นแนวโน้มเดียวกับหลายประเทศทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2551)
1 ร้าน 3,000 แบบ 50,000 รายการ
ความโดดเด่นและแตกต่างของผลิตภัณฑ์จากผ้าไทยพิมพ์ลายของแบรนด์ Naraya ไม่ได้อยู่ที่ราคาถูก เริ่มต้นแค่ 20 บาท ทำให้ผู้ซื้อสะดวกใจที่จะหยิบจับเงินในกระเป๋าออกมาจับจ่ายและหิ้วกลับไปใช้เองหรือฝากคนรู้จักเพียงเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
NaRaYa ผ้าไทย 400 ล้านบาท
ใครจะรู้ว่ากระเป๋าผ้าพิมพ์ลายดอกและลายตุ๊กตาสีสันสดใส ซ้ำแบบแต่ไม่ซ้ำลายฝีมือคนไทย จะขายดีถึงปีละ 400 ล้านบาท และใครจะรู้ว่าร้านขายกระเป๋าผ้าที่ว่านี้ต้องใช้เงินตกแต่งกว่า 20 ล้านต่อร้าน จากฝีมือของคนแต่งร้านให้กับหลุยส์ วิตตอง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2550)
Manufacture des Gobelins
เขต 13 (13eme arrondissement) ของกรุงปารีส อยู่ไม่ไกลบ้านจึงไปอยู่เนืองๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งย่านคนจีน ไหนจะไปโบสถ์ แซงต์-อิปโปลิต (Saint-Hippolyte) ในวันอาทิตย์ และถือโอกาสรับประทานอาหารกลางวันในร้านอาหารจีนและไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
SHAKA London แบรนด์เสื้อไทย กลิ่นอายปลาดิบ
กว่าที่แบรนด์เสื้อผ้าไทยสักแบรนด์จะได้ขึ้นห้างหรูเทียบชั้นแบรนด์เนม เรื่องราวเบื้องหลังการปลุกปั้นของดีไซเนอร์แต่ละคนย่อมเป็นบทเรียนที่น่าสนใจ แต่สำหรับแบรนด์ที่ผู้ฟูมฟักไม่ใช่นักออกแบบชื่อดัง เป็นเพียงผู้รักและหลงใหลในแฟชั่นกลิ่นอายญี่ปุ่น เส้นทางเข้าห้างก็คงเป็นคนละสายที่ต้องฝ่าฟันไม่แพ้กัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2550)
Vivienne Westwood นักคิดวงการแฟชั่น
เด็กสาวจากครอบครัวช่างทำรองเท้าและช่างทอในโรงงาน เติบโตในสังคมแรงงานแห่งเมืองผู้ดีช่วงวิกฤติหลังสงครามโลก เรียนออกแบบแค่เทอมเดียวก็ลาออก เพราะเริ่มไม่แน่ใจว่า โลกศิลปะจะมีที่ว่างให้กับชนชั้นกรรมกรอย่างเธอบ้างหรือไม่...ลองคิดดูเล่นๆ ว่า เด็กสาวคนนี้จะประสบความสำเร็จถึงไหน อย่างไร?
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
ชุบชีวิตใหม่ให้ Lacoste
ชีวิตที่ "ล้มแล้วลุก" ของอาณาจักรเครื่องแต่งกายภายใต้แบรนด์ Lacoste มูลค่า 2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ พร้อมตัวเลขยอดขายในตลาดอเมริกาที่พุ่งทะยานเพิ่มขึ้นถึง 70% ในปี 2005 จะไม่มีวันบังเกิดขึ้นได้ถ้าปราศจากการกุมบังเหียนของ Robert Siegel ผู้ซึ่งรั้งตำแหน่ง chairman-CEO ของ Lacoste USA มาตั้งแต่ปี 2002 จวบจนปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)