"บุญชู"-"ศุภชัย" ดวลฝีปากกลางสภา
4 กันยายน 2529 ภายในอัครสถานอันทรงเกียรติแห่งรัฐสภาวันนั้นเป็นวันนัดประชุมของเหล่า
ส.ส. 347 คน ซึ่งเพิ่งได้รับการเลือกตั้งเข้ามาได้เพียงเดือนเศษ ๆ เช่นเดียวกับรัฐบาลเปรม
5 ก็คลอดออกมาเป็นตัวเป็นตนได้ไม่ครบเดือนดี
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
ศึกชิงสำนักน่ำใฮ้ “ผมจะสู้เพื่อหลักการ” บุญชู โรจนเสถียร
“ณ วันตรวจสอบสินทรัพย์รวมของธนาคาร (นครหลวงไทย) เมื่อหักสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสูญเต็มจำนวนกับครึ่งหนึ่งของสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสงสัยส่วนที่เกินมูลค่าหลักประกันและสำรองเพื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว คงเหลือ 11,541.6 ล้านบาท... ซึ่งหากธนาคารท่านใช้วิธีปฏิบัติทางการบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว การดำเนินงานที่แท้จริงจะมีผลขาดทุน...”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง
บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
หนังสือยืนยันข้อตกลง
ผมขอขอบคุณคุณดิเรกที่ได้ให้เกียรติมาพบปะหารือและเชิญผมเข้าร่วมในการร่วมลงทุนและแผนการบริหารของธนาคารนครหลวงไทย จำกัด ผมมีความยินดีที่จะขอยืนยันถึงข้อสรุปความตกลงระหว่างคุณดิเรกกับผมในสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ปลายปี 2525 เมื่อมรสุมเริ่มตั้งเค้า
ก่อนที่จดหมายธนาคารชาติลงวันที่ 9 ธันวาคม 2525 จะส่งมาขอแสดงความนับถือกับธนาคารนครหลวงไทยนั้น ทางด้านมงคล กาญจนพาสน์ ก็ตัดสินใจถอนตัวออกจากธนาคารนครหลวงอย่างแน่นอน และก็ไม่มีใครอื่นนอกจากดิเรก มหาดำรงค์กุล ที่มงคล กาญจนพาสน์ จะเสนอขายหุ้นให้ก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)