ณรงค์ สีตสุวรรณ กับโจทย์ข้อใหญ่ใน RATCH
ณรงค์ สีตสุวรรณ เข้ารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ RATCH ท่ามกลางนโยบายที่ยังไม่ชัดเจนว่าบทบาทในการขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ในอนาคตจะตกอยู่กับองค์กรใด หลังจากแผนการนำ กฟผ.เข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นถูกศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้เป็นโมฆะ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)
RATCH เปลี่ยนตัวผู้นำแต่นโยบายคงเดิม
หลังบุญชู ดิเรกสถาพร มือการเงินจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ถูกส่งตัวให้เข้ามานั่งเป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) หรือ RATCH จนครบวาระ 6 ปี และสิ้นสุดหน้าที่สำคัญๆ ของเขาใน RATCH หลายๆ อย่าง ก็ถึงเวลาที่ต้องมีผู้นำองค์กรคนใหม่เข้ามารับหน้าที่แทนเขาได้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2549)
ผลิตไฟฟ้า เย้ยเศรษฐกิจซบ ผุดโครงการทั้งในและต่างประเทศ
จากภาวะเศรษฐกิจไทยในรอบปีที่ผ่านมาที่ลุ่มๆ ดอนๆ ทำให้นักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศต่างออกอาการผวา
ไม่มีกำลังใจในการลงทุนต่อไป เนื่องจากลงทุนต่อไปแล้วไม่ทราบว่าอนาคตผลตอบแทนที่จะกลับมานั้นคุ้มหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
กฟผ.เร่งเครื่องเต็มที่ ผลักโรงไฟฟ้า 3 กลุ่มทยอยเข้าตลาดฯ ปี '41
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ กำลังเร่งจัดโครงสร้างเพื่อส่งธุรกิจโรงไฟฟ้าเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
ในปี 2541 โรงไฟฟ้าทั้ง 3 กลุ่มรวมกันจะมีขนาดของกำลังการผลิตใหญ่กว่า EGCOMP
ถึง 7 เท่า และการระดมทุนของ กฟผ.ในครั้งนี้จะมีมูลค่าโครงการใหญ่เป็นอันดับ
1 ใน 3 ของเอเซีย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
แนวทางในการปรับโครงสร้างและการแปรรูปกิจการไฟฟ้า
เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2539 คณะรัฐมนตรีได้ลงมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
(กพช.) เกี่ยวกับแนวทางในการปรับโครงสร้างและการแปรรูปกิจการไฟฟ้าของประเทศไทยดังต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
"สจฟ…ภารกิจใหม่ของการไฟฟ้า"
สำนักงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้าหรือในชื่อย่อว่า สจฟ. เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าฝ่ายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งได้รับการจัดตั้งขึ้นมาเมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้ว โดยขึ้นตรงต่อคณะอนุกรรมการการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า
ซึ่งมีสมบูรณ์ มณีนาวา ผู้ว่าการการไฟฟ้าฯ เป็นประธาน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
P ตัวที่ 5 ของกันยงวัฒนา
ชื่อของมิตซูบิชิที่ผ่านมาในวงการอุตสาหกรรมเครื่องไฟฟ้า อาจจะไม่ใช่เครื่องไฟฟ้าชั้นนำอย่างยี่ห้ออื่น
ๆ ของญี่ปุ่น นอกเหนือจากเครื่องปรับอากาศ ที่มีชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์มิตซูบิชิ
ค่อนข้างจะได้รับความเชื่อถือมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
"ทางออกที่ถูกปิดของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ"
วิธีคิดของกฟผ.ต้องการให้ประชาชนบริโภคกระแสไฟฟ้าในราคาต่ำ ทำให้ลิกไนต์ใต้พื้นดินไทยเป็นทรัพยากรมีค่าขึ้นทันควันในช่วงสถานการณ์ราคาน้ำมันพุ่งสูงขึ้นเมื่อ
19 ปีก่อน ทว่าความกระหยิ่มใจกับไฟฟ้าราคาถูกครั้งนั้น กลายเป็นเรื่องเศร้าของ
5000 ครอบครัวต้องรับเคราะห์ จากฤทธิ์เดชของมลพิษ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
"เครื่องปรับอากาศที่ประหยัดไฟได้ 15%"
ในขณะที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตกำลังมีปัญหาเรื่องการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าใหม่อีกแห่งหนึ่ง
เพื่อสนองความต้องการของประชากรในเรื่องของการใช้ไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของการใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน
หรือโรงงานอุตสาหกรรมที่กำลังเกิดขึ้นอย่างมากมายก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)