โสภณ สุภาพงษ์ กับ"ปรัชญาการบริหารเชิงพุทธ"
หลังจากรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบางจากปิโตรเลียมเมื่อปี 2528 เป็นต้นมา
ข่าวคราวของ โสภณ สุภาพงษ์ ก็ดูเกือบจะเงียบหายไปเป็นเวลานาน
จนกระทั่งมีการคัดค้านการสร้างทางด่วนคร่อมคลองประปา ความคิดที่จะใช้สารเพิ่มออกเทนเพื่อลดสารตะกั่วในน้ำมันเบนซิน
โดยใช้มันสำปะหลัง ซึ่งการค้นคว้าวิจัยของเขาถูกหยิบยกมาเป็นหนึ่งในวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
บริษัทดาวบริวาร : ฝันในก้อนเมฆของ ปตท.
"ผู้บริหารระดับสูงกำลังอึดอัด เส้นทางในอำนาจ ระบบจัดสรรอำนาจหน้าที่ไม่เปิดกว้างให้ขึ้นสู่ที่สูง
ผลตอบแทนต่ำ ลักษณะงานในหน้าที่ฐานะเป็นองค์กรพลังงานของชาติที่ต้องพลวัตรการทำงานตามสภาวะแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ปตท. ผู้เป็นทั้งกรรมการและผู้เล่น
"เราต้องแข่งขันกับบริษัทต่างชาติต้องทำงานเหมือนกับเขา วิธีเดียวที่จะแข่งกับเขาได้
คือ ต้องเหมือนเขา เราต้องหารออกมาเลยว่า เราขายเท่าไร คนหนึ่งสามารถทำผลงานให้ได้เท่าไหร่
นึกภาพว่าเราต้องปรับคนของเรา ต้องรู้เขารู้เรา เราต้องรู้ว่าต้นทุนต่อหน่วยของเราเป็นเท่าไหร่
ต้นทุนต่อหน่วยของเขาเป็นเท่านี้ ทำไมของเราสู้เขาไม่ได้ ทำอย่างไรของเราจึงจะมีประสิทธิภาพ…
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ชาญชัย ตุลยะเสถียร "ผมรอวันนี้มานานแล้ว"
วันที่ 15 เมษายน 2531! วันที่ชาญชัยมีส่วนสำคัญยิ่งในฐานะผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของไทยออยล์ ในการกู้เงินบาทครั้งใหญ่สุดในประวัติศาสตร์จำนวน 5,000 ล้าน และกู้เงินสกุลดอลลาร์สหรัฐอีก 100 ล้านบาท โดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์อะไรของไทยออยล์ค้ำประกันเลยแม้แต่ชิ้นเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2531)
ฟอร์มูล่าเชลล์เป็นพิษเสียหน้าดีกว่าเสียภาพพจน์
การนำสินค้าเข้าตลาดพร้อมจัดทำโปรโมชั่นอึกทึกครึกโครมประกาศสรรพคุณความดีเลิศของตัวสินค้ากันอย่างถล่มทลาย
แต่อีกไม่นานต่อมาต้องมานั่งกลืนน้ำลายตัวเอง ด้วยการยอมรับอย่างหน้าชื่นตาบานว่าสินค้าที่นำเข้าตลาดนั้น
มีปัญหาจะต้องปรับปรุงแก้ไขเสียใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
อนุจินต์ สุพล คนที่จะต้องรับทั้งขึ้นทั้งล่อง
สำหรับนักบริหารมืออาชีพหลายคน การได้รับการยอมรับในความสามารถ จนได้รับการแต่งตั้งให้เป็น
"ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด" ที่ไม่เคยมีคนไทยคนใดได้รับมาก่อน ของบริษัทน้ำมันข้ามชาติที่ยิ่งใหญ่อย่างเชลล์
คงเป็นเรื่องที่น่าภูมิใจไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
ประยูร คงคาทอง ชาตรีต้องการอะไรของเขา?
คงไม่มีใครแม้แต่จะคิดสักนิดว่าวันนี้ ประยูร คงคาทองจะมาอยู่กับแบงก์กรุงเทพ
ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้มีข่าวคราวว่าหลังจากพักผ่อนระยะหนึ่งแล้ว เขาอาจจะบินไปอยู่กับภรรยาและลูกชาย
2 คนที่กำลังเรียนอยู่ในสหรัฐฯ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)