1 ศตวรรษในไทย
ถ้าถามถึงความคุ้นเคย ผู้บริโภคชาวไทยย่อมคุ้นกับชื่อของดีทแฮล์มมากกว่าชื่อดีเคเอสเอช เพราะชื่อดีทแฮล์มนั้นเป็นที่รู้จักกันในประเทศไทยเกือบจะครบ 1 ศตวรรษเข้าไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
ดีทแฮล์ม ผนวก เคลเลอร์ อำนาจต่อรองใหม่ของยุโรป
หลังจากแยกตลาดรับผิดชอบกันมากว่า 100 ปี ในที่สุดบริษัทการค้าเก่าแก่จากสวิตเซอร์แลนด์ทั้ง 2 แห่ง คือดีทแฮล์ม อาเก กับเอ็ดเวิร์ด เคลเลอร์ อา เก ก็ตัดสินใจรวมกิจการเข้าด้วยกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์ ได้ใช้ทั้งเงิน ได้ทำทั้งกุศลให้ดีทแฮล์ม
ความเข้มข้นของการแข่งขันระหว่างบริษัทผู้จัดจำหน่ายสินค้าในประเทศไทย
นอกจากจะทำให้แต่ละบริษัทต้องเร่งสร้างความแข็งแกร่งในเรื่องประสิทธิภาพการบริการให้แก่เจ้าของสินค้า
และร้านค้าจนทำให้ในช่วงที่ผ่านมา บางบริษัทต้องเร่งปรับโครงสร้างภายในให้มีความกระชับขึ้น
รวมถึงที่การลงทุนขยายคลังสินค้าให้ครอบคลุมทั่วประเทศอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
"ดีทแฮล์ม-เบอร์ลี่-อินช์เคปในสถานการณ์ "ไร้พรมแดน"
"ธุรกิจจัดจำหน่ายที่จะมีอนาคต ต้องมองตลาดแบบโลกาภิวัฒน์ มองเอเชียเป็นประเทศเดียว
ดังนั้นบริษัทที่ไม่มีความได้เปรียบในเรื่องเน็ตเวิร์กจะเสียเปรียบมาก"
นี่เป็นความเห็นของวิวัฒน์ กิตติพงษ์โกศล กรรมการผู้จัดการอีเอซี มาร์เก็ตติ้ง
เซอร์วิส ประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
ดีทแฮล์ม 1990 ลงทุนเพื่อซื้ออนาคต
ปี 1990 ขณะที่โลกกำลังจับตาดูว่าคำทำนายของ ดร. ระวี บาทรา ที่ว่าจะเกิด
THE GREAT DEPRESSINO หรือไม่ แต่ปีเดียวกันนี้สำหรับดีทแฮล์มกลับเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่อาจจะเรียกว่าเป็น
THE GREAT TURNING POINT
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)