ธนาคารไทยยุคก่อนล่มสลาย (2505-2540)
ธนาคารกรุงเทพ กสิกรไทย ศรีนคร ไทยพาณิชย์ เป็นโมเดลตัวอย่างสำคัญในการเข้าใจความสำเร็จ ความล้มเหลว และการปรับตัวของธนาคารไทย เมื่อต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 จนระบบธนาคารไทยแบบดั้งเดิมต้องสลายตัวลง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคาร "ไทย"
สาขาธนาคารกสิกรไทยในเมืองใหญ่ ซึ่งแน่นไปด้วยตึกราม หาไม่ยากอย่างที่คิด นอกจากธนาคารแห่งนี้จะเปลี่ยนโลโกใหม่ เติมวงสีแดงล้อมรอบรวงข้าว ส่งให้มองเห็นแต่ไกลแล้ว ยังมีอีกสิ่งที่มีความ "พิเศษ" ไม่เหมือนใครที่สังเกตเห็นง่ายที่สุดอีกด้วย.. ธงชาติไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ล่ำซำกับฝรั่งใน 1 ศตวรรษ
"อึ้งเมี่ยวเหงียน (2397-2456) เดินทางสู่สยามในต้นรัชกาลที่ 5 ..คุณชวดโดยสารเรือเดินทะเลจากเมืองจีนมายังบางกอก
คุณชวดก็น่าจะตั้งต้นจากเมืองซัวเถา ซึ่งรุ่งเรืองและเป็นแหล่งอพยพของชาวจีนแคะและแต้จิ๋วมากที่สุดในช่วงเวลาดังกล่าว
ผ่านฮ่องกงแล้วจึงมาเทียบตรงที่กรุงเทพฯ ระยะแรก ท่านได้เข้าทำงานในร้านขายเหล้าของชาวจีนแคะผู้หนึ่งซึ่งมีกิจการค้าไม้สักอยู่
ด้วย ..ยามว่างงานประจำก็เข้าไปช่วยดูแลในร้านขายไม้ ท่านจึงฝึกจนเชี่ยวชาญเรื่องไม้อย่างดี
และหวังว่าจะได้ยึดอาชีพค้าไม้นี้ตั้งตัว ในที่สุดคุณชวดก็ สามารถมีธุรกิจของตนเอง
เปิดร้ายขายไม้สักติดกับลำน้ำเจ้าพระยาที่ตำบล จักรวรรดิ อำเภอสัมพันธวงศ์
ชื่อ "ก้วงโกหลง" (2444) และทำสัมปทานป่า ไม้อยู่แถวจังหวัดนครสวรรค์
กับแพร่"
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
กิตติรัตน์ ณ ระนอง ถือหุ้น Univentures 66%
กิตติรัตน์และเพื่อนพ้องที่ร่วมธุรกิจอยู่ในและนอกบริษัท คาเธ่ย์ แอสเซท แมเนจเม้นท์ นั่นเอง เข้าไปซื้อหุ้นเพิ่มทุนของยูนิเวนเจอร์ (UV) จนกลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ประกาศคาเธ่ย์ฯ พร้อมหลีกทางหาก UV สนใจทำธุรกิจที่ปรึกษาเอง…
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ธ.กสิกรไทย หนุน supply chain management
หลังจากประกาศตัวเป็นพันธมิตรธุรกิจกับวินสโตร์ เพื่อร่วมพัฒนาเทคโนโลยีและให้
บริการทางด้านการเงินแก่กระบวนการจัดส่งสินค้าหรือ Supply Chain Management
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
สมรภูมิของธนาคารกสิกรไทย
ประสบการณ์ล่าสุดของธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเป็นธนาคารพาณิชย์ยักษ์ใหญ่อันดับสองของไทยและเป็นธนาคารเอกชนแห่ง
หนึ่งที่มีระบบบริหารที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่สถาบันการเงินย่านเอเชียกำลัง
เผชิญในขณะที่กำลังฟื้นฟูกิจการธนาคารกสิกรไทยเริ่มต้นดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดตั้งแต่ปี 1998 แต่วิกฤตการณ์ทาง
เศรษฐกิจหนักหน่วงจนทำให้การพยายามปรับโครงสร้างทุนในครั้งแรกไม่บรรลุผลและกดดันให้ต้องดำเนินความ
พยายามอีกเป็นคำรบที่สอง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
ทวิช ธนะชานันท์ กับงานการเงินที่รักยิ่ง
ทวิช ธนะชานันท์ เป็นลูกหม้ออีกคนของโรงเรียนกสิกรไทย ที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมาจากยุคเฟื่องฟูของวาณิชธนกิจ มาถึงยุคเจียมเนื้อเจียมตัวของชาววาณิชฯ
ทั้งหลาย เขาโชคดีที่อยู่ในองค์กรที่มีกรอบระเบียบการทำงานที่โปร่งใส และมีจรรยาบรรณ
เขาจึงหลุดพ้นจากการล่มสลายมาได้อย่างหวุดหวิด หากคนเก่งอย่างเขาอยู่ในสถาบันการเงินอื่นที่เคยโด่งดังในอดีต
เขาก็อาจจะเป็นหนึ่งในบรรดา "เหยื่อ" ของฟองสบู่เหล่านั้นด้วยก็เป็นได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
บุญทักษ์ หวังเจริญ เผยเบื้องหลัง "สลิป" สี่หมื่นล้าน "เหนื่อยแต่คุ้ม"
ในภาวะอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อธุรกิจที่พึ่งพารายได้จากดอกเบี้ยเงินฝาก
ทำให้มีรายได้ลดลงกว่าเท่าตัว ในขณะที่ช่องทางอื่นในการลงทุน อาทิ ตลาดหุ้น
ก็ไม่ได้ให้ผลตอบแทนที่สวยหรูอย่างเช่นในอดีตอีกต่อไปแล้ว ประกอบกับตลาดตราสารหนี้ที่ยุคหนึ่งเคยเป็นยุคบูมก็ได้ขาดตอนไปช่วงเวลาหนึ่งจากพิษเศรษฐกิจ
ทำให้ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ออกมา
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2542)
จุดจบแบงเกอร์ไทย โฉมใหม่อุตสาหกรรมธนาคาร
14 สิงหาคม เป็นวันที่หลายคนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ แม้จะมีข้าวแพลมออกมาเป็นระยะๆ
เกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง
และแนวทางการดำเนินการธนาคาร 4 แห่ง ที่รัฐบาลประกาศเข้ายึดอำนาจการบริหารและการถือหุ้นเมื่อ
23 ม.ค. (ธ.ศรีนคร) และ 6 ก.พ. 2541 (ธ.นครหลวงไทย, ธ.มหานคร และ ธ.กรุงเทพฯ
พาณิชย์การ) แต่ปฏิบัติการจริงๆ เริ่มได้หลังเจรจาปรึกษากับเจ้าที่ไอเอ็มเอฟและเอดีบี
- เจ้าของเงินกู้รายใหญ่ของประเทศไทยตอนนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)