ผู้บริหารต่างชาติคนแรกของ กสิกรไทย
ปรากฏการณ์ครั้งสำคัญกำลังเกิดขึ้นที่ธนาคารกสิกรไทย
ภายใต้การบริหารงานของบัณฑูร ล่ำซำ ในการนำบุคลากรระดับ
ผู้บริหารจากต่างประเทศเข้ามาร่วมงาน เป็นการปฏิวัติเชิงโครงสร้างแม้จะไม่กระทบกระเทือนอะไรมากมาย
แต่ถือได้ว่านี่เป็นจุดเริ่มต้น
ซึ่งในอนาคตอาจจะเห็นผู้บริหารต่างชาติเดินกันเต็มตึกบัญชาการแบงก์รวงข้าว
บนถนนราษฎร์บูรณะ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
สามแบงก์ยักษ์ใหญ่กับการฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ
วิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ทำให้ธนาคารพาณิชย์แทบสูญพันธุ์
มีเพียงธนาคาร 3 แห่ง ที่เป็นไทยแท้ และบาดแผลจาก
การฝ่าฝันกระแสพายุเศรษฐกิจ นับว่าสร้างความเสียหายให้ไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
8 ยุทธศาสตร์แบงก์กสิกรไทย
บัณฑูร ล่ำซำ ถือฤกษ์ในเวลา 15.59 น. ประกาศ "8 โปรแกรมยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว" ที่ธนาคารกสิกรไทยจะนำมาใช้เพื่อเตรียมพร้อมรับกับการแข่งขันของวงการธนาคารพาณิชย์ที่คาดว่าจะเข้มข้นขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะการรุกเข้ามาของธนาคารพาณิชย์จากต่างประเทศ ที่มีความได้เปรียบมากกว่าทั้งฐานเงินทุนและเทคโนโลยี
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
electronic banking ยุทธศาสตร์ใหม่ ธ.กสิกรไทย
ความแตกต่างของ electronic banking ธนาคารกสิกรไทย ไม่ได้อยู่ที่การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่
ที่ต้องลงทุนเทคโนโลยีขั้นสุดยอด แต่เป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นฐานที่มีอยู่เดิมให้ถูกวิธี
ด้วยวิธีคิดใหม่ ก็ทำให้ธนาคารกสิกรไทยเข้าสู่การแข่งขันในโลกยุคใหม่ได
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
wholesale banking
เป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถให้กับลูก wholesale banking ของธนาคารกสิกรไทย ไม่แตกต่างไปจากโมเดลของการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทางการเงินของ
retail banking นั่นก็คือ การเลือกสรร และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
กสิกรไทยกับสาวงาม และ e-service
ด้วยเหตุผลที่ธุรกิจของธนาคารเป็นเรื่องห่างไกล ยากที่ผู้บริโภคจะเข้าถึงได้ง่าย ๆ ไม่เหมือนกับ consumer product อื่น ๆ ยิ่งเมื่อบวกกับคอนเซ็ปต์บริการใหม่ ที่แบงก์กสิกรไทยจะชูธงรบอย่างหนักในปีนี้ ที่ล้วนแต่เป็นเรื่องที่เอาไอทีมาประยุกต์ใช้ด้วยแล้ว ก็ยิ่งจะเป็นเรื่องยากที่ผู้บริโภคจะเข้าใจได้ง่าย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
เบื้องลึกความคิดบัณฑูร ล่ำซำ "ธนาคารเป็นเรื่องสากล"
คนหนุ่มอายุ 47 ปี มาจากครอบครัวเก่าแก่ เป็นผู้ "จุดประกาย" ธุรกิจรากฐานที่สุดในสังคม เข้าใจเรื่อง "ประสิทธิภาพ" มากกว่า "ความยิ่งใหญ่" และเขาก็พิสูจน์ว่าใช้ได้จริง แม้ยามวิกฤติก บัณฑูร ล่ำซำ เป็นนายธนาคารไทยที่ "ความคิด" ทรงอานุภาพคนหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
อิทธิพลของ "ข้อมูล" กับโทรศัพท์มือถือยุคที่สาม
ในโลกของโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 จะประสบความสำเร็จ หรือเป็นที่นิยมในแต่ละประเทศได้หรือไม่นั้น จะต้องขึ้นอยู่กับ content เป็นสำคัญ นี่คือคำตอบที่ว่า ทำไมโนเกียต้องจับมือกับสนุก.คอม เอไอเอสต้องร่วมมือกับแบงก์ไทยพาณิชย์ กสิกรไทยต้องจับมือกับแทค
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคารกสิกรไทยในมุมมอง McKinsey
ธนาคารกสิกรไทยในช่วงการดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดตั้งแต่ปี 2541 จากมุมมองในข้อเขียนของวารสาร McKinsey Quaterly
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
Core Group ของ บัณฑูร ล่ำซำ
อำพล โพธิ์โลหะกุล และยุทธชัย ชูศักดิ์ภักดี คือ 'ผู้ร่วมอุดมการณ์' ของกรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทยยุคนี้ ถือเป็นตัวแทนคนรุ่นใหม่ที่เติบโตในหน้าที่การงานอย่างรวดเร็ว ในยุคใหม่ของการบริหารธนาคารกสิกรไทย ที่ให้รางวัลอย่างเต็มที่สำหรับคนที่มีผลงานดี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)