SingTel กับการ "ก๊อบปี้" ความสำเร็จของตัวเอง
โจทย์ท้าทายที่รออยู่ : ทำอย่างไรจึงจะรักษาการเติบโตในระดับเดิมไว้ได้ต่อไป 5 ปีก่อน ไม่ว่า Singapore Telecommunication 'SingTel' บริษัทของรัฐบาลสิงคโปร์ จะหยิบจะจับอะไรก็ดูผิดที่ผิดทางไปเสียหมด SingTel พ่ายแพ้ให้แก่ Richard Lee มหาเศรษฐีชาวฮ่องกง ในปี 2000 ใน การเสนอซื้อบริษัท Cable & Wireless ของฮ่องกง ปีต่อมาหุ้นของ SingTel รูดลงถึง 38% หลังจากถูกนักวิเคราะห์ ติงว่า SingTel ซื้อ Cable & Wireless Optus บริษัทโทรคมนาคมใหญ่อันดับสองของออสเตรเลียในราคาที่แพงเกินไป ผู้ถือหุ้นยังพากันตั้งคำถามถึงการที่ SingTel เข้าไปลงทุนในบริษัทโทรคมนาคมในประเทศกำลังพัฒนาหลายประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
Bridge
ไม่ใช่ชื่อสะพานที่ไหน แต่เป็นชื่อโครงการที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
6 ราย ประกอบด้วยเอไอเอสของไทย Singtel จากสิงคโปร์ OPTUS จากออสเตรเลีย Bharti
จากอินเดีย Telekomsell จากอินโดนีเซีย Globe จากฟิลิปปินส์ ทั้งหมดนี้เป็นเครือข่ายความร่วมมือของ
Singtel ทั้งสิ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
Regional Executive
เวลานี้ ชุมพล ณ ลำเลียง มีของเล่นชิ้นใหม่ที่เขาเหน็บเอวไว้ตลอด ผู้คนที่ช่างสังเกตย่อมจะเห็นว่าเป็นของที่เขาชอบเป็นพิเศษ
แต่ไหนแต่ไรมาเขาไม่เคยต้องเหน็บโทรศัพท์มือถือเช่นคนอื่น ของเล่นชิ้นนี้เป็นโทรศัพท์ไร้สายขนาดใหญ่กว่าทั่วไปเล็กน้อย ดังนั้นเมื่ออยู่ที่เอวของคนตัวเล็ก ย่อมจะสังเกตเห็นง่าย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
ปูนใหญ่เล็กไปแล้ว
ผมไม่ได้เขียนถึงบุรุษผู้นี้มานานถึง 2 ปีเต็ม อันเป็น ช่วงเดียวกับที่บทบาทของเขาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมากมาย ข้อต่อของสถานการณ์สำคัญได้เริ่มต้นเกิดขึ้นมาตั้งแต่วิกฤติการณ์เมื่อ 5-6 ปีที่แล้ว วันนี้เครือซิเมนต์ไทยเล็กไปเสียแล้วสำหรับชุมพล ณ ลำเลียง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
งานใหม่ ชุมพล ณ ลำเลียง
ไม่มีใครเคยคิดว่า ชุมพล ณ ลำเลียงจะมีงานอื่นๆ นอกจากบริษัทกิจการ ในเครือสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ งานที่ไม่ใช่การลงทุนส่วนตัว ในเรื่องหุ้นอสังหาริมทรัพย์ทั้งในและต่างประเทศที่เขาชอบ
หากเป็นงานที่ทำงานคล้ายๆ หรือเหมือนกับที่เขาทำในปัจจุบันกับตำแหน่งที่เปิดเผยต่อสาธารณชน
ที่สำคัญข่าวนี้ไม่มีแถลงมาจากเครือซิเมนต์ไทยแต่อย่างใด แต่สำหรับแวดวงธุรกิจถือว่าเป็นข่าวใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
CRM สร้างประสบการณ์ให้ลูกค้า
ด้วยภาระหน้าที่ต้องรับผิดชอบดูแลส่วนงานบริหารลูกค้า หรือ CRM (Customer
Relation Management)
ตั้งแต่เป็นแค่หน่วยงานเล็กๆ ฝังตัวอยู่ในแผนกการตลาด พอ 3 ปีผ่านไป โจทย์ทางการตลาดเปลี่ยนลูกค้ามากราย
แต่รายได้ต่อหัวต่ำลง บริการ non voice เริ่มมีบทบาท
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)