Return to Roots, Back to Nature เบื้องหลังนวัตกรรมของ Toyota
"นวัตกรรม" สำหรับวงการรถยนต์ หลายคนจินตนาการไปถึงรถที่มีเทคโนโลยีชั้นสูง ใช้วัสดุชั้นดีไม่แพ้ยานอวกาศ หรือมาจากคอนเซ็ปต์รถของศตวรรษหน้าที่เคลื่อนที่เร็วปานจรวด แต่สำหรับ Toyota บางทีรถก็เป็นเพียง "space & wind" ที่เคลื่อนที่เพื่อนำพาเราเข้าใกล้ธรรมชาติและตัวเองมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
The Style by Toyota
ความสมบูรณ์แบบของการดีไซน์ตกแต่งภายใน การเลือกใช้วัสดุคุณภาพดีไปจนถึงผนวกความทันสมัยด้านไอทีอย่างครบครันของ The Style by Toyota ถูกแฝงเอาไว้ภายใต้ความต้องการที่แท้จริงอย่างการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าคนสำคัญอย่างวัยรุ่น ที่กลายเป็นกำลังสำคัญของกำลังซื้อในอนาคตของบริษัทนั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
เพื่อความเป็น Leader
ตลาดรถยนต์นั่งขนาดกลาง ในกลุ่ม Luxury ยังคงหอมหวน ดึงดูดค่ายโตโยต้าให้เข้าไปแย่งส่วนแบ่งตลาดจากรายใหญ่ ที่เคยครองตลาดอยู่เพียง 2 ราย คือ ค่ายเมอร์ซิเดส เบนซ์ และ บีเอ็มดับเบิลยู โดยใช้โตโยต้า Camry เป็นหัวหอก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Image Maker
ถ้าเป็น 4-5 เดือนที่แล้ว มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ คงมีเวลาว่ายน้ำ ออกกำลังกายที่โรงแรมสุโขทัย
ริมถนนสาทร เป็นกิจกรรมยามว่างที่เขาทำเป็นประจำได้มาก กว่านี้ แต่เพราะงานประจำที่รัดตัว
ทำให้สมาชิกประจำอย่างมิ่งขวัญต้องว่างเว้นกิจกรรมที่เขาตั้งใจจะทำจนแก่ มาแล้วหลายเดือน
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
หุ้นกลุ่มยานยนต์ตัวใหม่
หากวัดจากจุดตั้งต้น ความเก่าแก่บริษัทยานภัณฑ์นั้น ไม่แตกต่างจากกลุ่มสยามกลการ
หรือกลุ่มยนตรกิจ เพราะเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ที่เติบโตขึ้นภายหลังการสิ้นสุดของสงคราม
โลกครั้งที่ 2 เพียงแต่ยานภัณฑ์เลือกที่จะเดินในเส้นทางของผู้ผลิตชิ้นส่วน ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการประกอบรถยนต์
แทนที่จะเลือกเป็นตัวแทน จำหน่ายรถยนต์ และก่อสร้างโรงงานประกอบรถยนต์เป็นของตนเอง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ต้นแบบของอุตสาหกรรม ที่มีจุดเริ่มต้นจาก SME
ในยุคที่เมืองไทย คำว่า SMEs กำลังเป็นคำที่ฮอตมากอยู่ในขณะนี้ หากย้อนกลับไปดูพัฒนาการของบริษัทยานภัณฑ์จะเห็นได้ว่านี่คือตัวอย่างของ
SME ที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาความต่อเนื่อง จนเติบใหญ่กลายเป็นอุตสาหกรรม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
Toyota ผู้ครองถนนเมืองไทย
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น ได้ก่อ ตั้งขึ้นเมื่อปี
2480 โดยดำเนินธุรกิจ ด้านการผลิตและจำหน่ายรถยนต์ ตลอดจนอุปกรณ์ชิ้นส่วนภายในประเทศ
กระทั่งในปี 2499 การขยาย ธุรกิจไปสู่ต่างประเทศก็เริ่มขึ้น โดยมีประเทศไทยเป็นประเทศแรก
ที่ Toyota ตัดสินใจเข้าลงทุน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
8 ปีกับมูลนิธิโตโยต้า มูลนิธิเพื่อคนไทย
จนถึงวันนี้ ดูราวกับว่ากิจกรรมของมูลนิธิ "โตโยต้าแห่งประเทศไทย" จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไป แล้วหลายคน แม้ไม่ได้ใช้รถโตโยต้า แต่มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่มูลนิธิจัดมาอย่างต่อเนื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
ประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานคนไทยคนแรกในโตโยต้า
เป็นครั้งแรกที่โตโยต้า ยักษ์ใหญ่ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์จากญี่ปุ่น ตัดสินใจเพิ่มบทบาทให้คนท้องถิ่น มีตำแหน่งสูงสุดในการบริหารงานสาขา โดยเริ่มที่ประเทศไทยเป็นแห่งแรก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
อินทราเน็ต ของโตโยต้า ข้อมูลการตลาดยุคใหม่
ผู้ผลิตรถยนต์ต้องมีตัวแทนจำหน่ายกระจายอยู่ทั่วประเทศ ทั้งดีลเลอร์ และศูนย์บริการ
โรงงานผลิตที่แยกกันอยู่หลายที่ ทำให้โตโยต้าจำเป็นต้องนำระบบไอทีมาใช้ เพื่อเพิ่มความ
สะดวกในการสื่อสารระหว่างกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)