น้องใหม่
หลังจากที่ดอกเบี้ยเงินฝากของสถาบันการเงินลดลง ทำให้ผู้ฝากเงินต้องมองหาโอกาสลงทุนด้านอื่นๆ เพื่อให้มีรายได้งอกมาบ้าง ทำให้ฝั่งของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนหลายแห่งได้เห็นโอกาสจึงได้เปิดตัวผู้บริหารใหม่เพื่อวัดฝีมือบริหารงานในยามวิกฤติ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)
กสิกรมองต่างมุม FIF บูมแค่ไตรมาสแรก
แม้ว่า บลจ.กสิกรไทย จะมีกองทุน FIF ถึง 14 กอง และเปิดกองใหม่ถึง 11 กอง เมื่อปี 2550 ที่ผ่านมายอมรับว่าปีหมูเป็นปีทองของกองทุน FIF แต่ปีหนูนี้จะแตกต่างออกไป วิวรรณ ธาราหิรัญโชต ถึงกับเอ่ยปากออกมาว่า กองทุน FIF จะไปได้อีกไตรมาสแรกของปี 51 เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2551)
Modernize K-Assets
ภาพของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนแนวอนุรักษนิยมของ K-Assets ที่คนส่วนใหญ่เคยรู้สึก กำลังจะถูกเปลี่ยนแปลงไปสู่ความทันสมัย
หลัง วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
พัฒนาโปรดักส์ ช่องทางขายที่หลากหลายขึ้น
แม้จะยังไม่เป็นที่แน่ชัดถึงเหตุผลการประกาศลาออกแบบไม่ทันให้คนในตลาดได้ตั้งตัวของ ดัยนา บุนนาค ทั้งที่เธอเป็นผู้บุกเบิก บลจ.กสิกรไทย มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งกิจการเมื่อปี 2355 แต่เพิ่งจะก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ บลจ. กสิกรไทยได้เพียงไม่ถึงปีนั้น คนภายนอกก็เริ่มมองกันไปต่างๆ นานา
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2549)
หนักแน่นและต่อเนื่อง
แม้ปฏิบัติการ integrate การทำธุรกิจระหว่างธนาคารกสิกรไทย และบริษัทในเครือภายใต้นาม K Group เพื่อเสนอผลิตภัณฑ์การให้บริการทางการเงินในรูปแบบต่างๆ ที่ครอบคลุมทุกๆ ปริมณฑล แห่งความต้องการของลูกค้าในทุกกลุ่มของธนาคาร จะเป็นเพียงกระบวนเบื้องต้น แต่ยิ่งนับวัน ตลาดก็ยิ่งได้เห็นถึงความหนักแน่น ชัดเจน และต่อเนื่องในการร่วมแรงร่วมใจกันที่จะผลักดันกระบวนการนี้อย่างไม่หยุดยั้งของกลุ่ม K Group ทั้งจากบนหน้าสื่อสิ่งพิมพ์และสปอตโฆษณาผ่านหน้าจอทีวีในบ้าน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
ลำดับเหตุการณ์ของ K-Asset
ลำดับเหตุการณ์การก่อตั้ง บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนกสิกรไทย จำกัด (K-Asset)
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
KBank Group's Showcase
บทบาทของ บลจ.กสิกรไทยในวันนี้ ไม่เพียงแค่การบริหารสินทรัพย์ของผู้ถือหน่วยลงทุนกว่า 1.5 แสนล้านบาทเท่านั้น แต่ยังจะเป็นองค์กรตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการ integrate ธุรกิจของ KBANK ว่ามีมากน้อยเพียงใดอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
New era of Banking Industry
การประกาศเปิดตัว KBank Group นอกจากจะเป็นการทำให้คำว่า Universal Banking ถูกเข้าใจความในเชิงรูปธรรมยิ่งขึ้นแล้ว ยังเป็นการบอกถึงแนวโน้มอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ของไทย ที่นับจากนี้จะต้องเดินไปในแนวทางนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
บลจ.กสิกรไทยฉวยจังหวะวิกฤต เสนอแนวคิดกองทุนรวมเพื่อสำรองเลี้ยงชีพ
ความแน่นอนก็คือความไม่แน่นอน สัจธรรมที่คนในแวดวงตลาดหุ้นซาบซึ้ง เมื่อมืออาชีพและมือสมัครเล่น
ณ วันนี้บอบช้ำไม่แพ้กัน บลจ.กสิกรไทยปรับนโยบายการลงทุนดูความเสี่ยงอันดับหนึ่ง
ผลตอบแทนค่อยตามมา พร้อมหนุนกองทุนรวมเพื่อสำรองเลี้ยงชีพให้เกิดขึ้น ท่ามกลางภาวะวิกฤตที่ผู้คนต้องการออมระยะยาวเสริมความมั่นใจใช้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีปีละ 3 แสนเป็นแรงดึงดูด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2540)