Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ76  
Positioning3  
ผู้จัดการรายวัน17  
ผู้จัดการรายสัปดาห์2  
PR News58  
Web Sites1  
Total 155  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ไอบีเอ็ม ประเทศไทย, บจก.


นิตยสารผู้จัดการ (41 - 50 of 76 items)
"ไอบีเอ็ม สู่ธุรกิจ 'สมองคน'" เพียงหนึ่งปีครึ่งบนเก้าอี้กรรมการผู้จัดการไอบีเอ็ม ชาญชัย จารุวัสต์ได้ทำการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ถึง 2 ครั้ง เพื่อปรับเปลี่ยนองค์กร และเตรียมกำลังคนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมใหม่ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ของโลกที่ความใหญ่ไม่ใช่อำนาจอีกต่อไป แต่เป็นจุดตาย(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"การเปลี่ยนแปลงของไอบีเอ็ม ในมุมมองของคู่ค้าชื่อ "โปรลายน์" กลุ่มโปรลายน์ มีจุดกำเนิดมาจากการเป็นตัวแทนขายคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม เมื่อปี 2531 แรกเริ่มเดิมทีมีสถานะเป็นเพียงแค่ตัวแทนขายเล็ก ๆ บริษัทหนึ่งในวงการค้าคอมพิวเตอร์และเป็นหนึ่งในบริษัทคู่ค้าของไอบีเอ็มที่ปัจจุบันมีอยู่ทั้งหมด 7 ราย(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
เซอร์เคิ้ล คอมพิวเตอร์ สินค้าไอบีเอ็มมือสอง "ธุรกิจของเรา คือ ขายแลกเปลี่ยนเครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทุกชนิดของไอบีเอ็ม "วิโรจน์ ว่องธนาการ ผู้จัดการทั่วไปของบริษัทเซอร์เคิ้ล คอมพิวเตอร์ซิสเต็ม (ประเทศไทย) จำกัด ให้คำจำกัดความของกิจการที่เขาเป็นผู้บริหารอยู่(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2536)
"ยกเครื่องไอบีเอ็ม !!!" ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการคนใหม่แห่งไอบีเอ็ม (ประเทศไทย) ชาญชัย จารุวัสตร์ต้องรับภาระหนักและเผชิญกับการท้าทายอย่างที่สุดในชีวิตการทำงาน เขาต้องกอบกู้ภาพพจน์ของการเป็นองค์กรที่มีบุคลากรชั้นเยี่ยมกลับคืนมา ต้องเร่งรัดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กรหลังจากที่พบว่าตลาดมีการแปรผันไปมากกว่าที่เขาคิดและลักษณะองค์กรที่เป็นอยู่ไม่เอื้อต่อการทำธุรกิจ(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"เอ็มเอสซี : โตล้ำหน้าไอบีเอ็ม" เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่นหรือเอ็มเอสซีเป็นบริษัทในเครือศรีกรุงวัฒนามีจุดกำเนิดมาจากแผนกคอมพิวเตอร์เล็ก ๆ ของเครือ ฯ และเจริญเติบโตมาได้ด้วยการทำมาค้าขายเป็นบริษัทคู่ค้า (BUSINESS PARTNER) กับไอบีเอ็ม ขายเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มเป็นธุรกิจหลัก(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
สมภพ อมาตยกุล ในสถานการณ์ "สมองไหล" ที่ไอบีเอ็ม?!! สถานการณ์ "สมองไหล" ในไอบีเอ็ม (ประเทศไทย) เกิดขึ้นเมื่อมีพนักงานระดับบริหาร ทั้งฝ่ายการตลาด ช่าง แม้กระทั่งฝ่ายการเงินทยอยลาออกกันทุกเดือนทุกปี ผลกระทบที่ตามมาคือขวัญและกำลังในของพนักงานที่ยังอยู่เริ่มสั่นคลอน(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
อดีตที่ยาวนานของไอบีเอ็มไทย ไอบีเอ็ม ประเทศไทยเป็นบริษัทต่างชาติที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง อายุหากนับตั้งแต่ไอบีเอ็ม คอร์ปอร์เรชั่นเข้ามาตั้งสำนักงานตัวแทนที่กรุงเทพฯ เมื่อปี 2491 ก็รวม 42 ปี(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
ไอบีเอ็มร่วมทุนลอกซเล่ย์ ตลาดธุรกิจคอมพิวเตอร์ภาคราชการกำลังเป็นที่จับตามองของบรรดาบริษัทค้าขายระบบคอมพิวเตอร์กันมากขึ้น หลังจากที่กระทรวงการคลังได้รับฉันทานุมัติเบื้องต้นจากคณะรัฐมนตรี ให้ดำเนินการตระเตรียมการใช้ภาษีมูลค่าเพิ่มในการจัดเก็บภาษี(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
ไอบีเอ็ม : ถึงคราเป็นผู้ถูกกำหนดบ้าง หลังจากที่มิดเวสต์สต็อคเอ็กซ์เช้นจ์ (เอ็มเอสอี) ได้ชัยชนะ ถูกคัดเลือกเข้าเป็นผู้ติดตั้งระบบค้าหลักทรัพย์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (เอสอีที) แล้ว ส่วนแบ่งตลาดเครื่องคอมพิวเตอร์ในธุรกิจค้าหลักทรัพย์ก็เริ่มผกผันในทันที(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2532)
สหวิริยา-ไอบีเอ็มไม่มีเมื่อวานนี้อีกแล้ว "บิสิเนส รีซัน" ด้วยเหตุผลทางธุรกิจ คำ ๆ นี้ดูรัดกุมเป็นกลาง ๆ และจริง ๆ แล้วก็คือ ไม่ได้บอกอะไรเลย !!!(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2530)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us