วนารักษ์ เอกชัย ภารกิจที่ยังไม่จบ
เขาจัดเป็นมืออาชีพอีกคนหนึ่งที่อยู่ร่วมในองค์กรธุรกิจข้ามชาติ
เป็นระยะเวลาที่ยาวนานถึง 22 ปี "ถ้าเป็นปลาก็เปลี่ยนมาแล้วหลายน้ำ"
วนารักษ์เปรียบเปรยถึงตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
การปฏิวัติในรอบ 60 ปีของไอบีเอ็ม
เมื่อไอบีเอ็มจะไม่มีผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า เมนเฟรม เอเอส 400 หรือริกส์ 6000 อีกต่อไป จะมีเพียงคำว่า e-server
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
ตลาดโฮมยูส ไอบีเอ็มยุคไม่แพง?
ไอบีเอ็มยุคท่องคาถา "ไม่แพง" จะดังก้องไปถึงตลาดโฮมยูสหรือไม่? ยังเป็นที่น่าสงสัย
วนารักษ์ เอกชัย กล่าวว่า เนื่องจากไอบีเอ็มมีเทคโนโลยีครบทุกแขนง ดังนั้นจึงต้องสนใจขยายตลาดตั้งแต่องค์กรขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
หมดยุคไอบีเอ็ม?
ไอบีเอ็มเคยเป็นธงชัยที่สะบัดอยู่เหนือธงชัยทั้งปวง แต่ฤทธิ์เดชของเครื่องพีซี
ทำให้เกิดปุจฉา หมดยุคไอบีเอ็มจริงหรือ? ทั้งที่ยังขายสินค้าได้มากกว่าบริษัทอื่นๆ
การเป็นอาณาจักรต้นทุนสูงยังเป็นภาพหลอนที่คอยทำร้ายไอบีเอ็ม อนาคตของบริษัทนี้มักจะถูกผูกติดอยู่กับตลาดเมนเฟรมที่ใกล้สิ้นชีพ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
"ไอบีเอ็มยุค "วนารักษ์ เอกชัย" เปียกปอนกันโดยถ้วนหน้า"
มีคำถามเกิดขึ้นมากมาย หลังจากไอบีเอ็มเจ้าของฉายา "บิ๊กบลู" แห่งวงการคอมพิวเตอร์ประกาศปรับเปลี่ยนนโยบายการตลาดด้วยการหันมายึดแนวทางทำธุรกิจร่วมกับคู่ค้า หรือที่เรียกว่า IBM BUSINESS PARTNER CHARTER ซึ่งจะเป็นแผนแม่บทที่ไอบีเอ็มจะยึดเป็นแนวทางนับจากนี้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
วนารักษ์ เอกชัย กับวันที่ "ฟอร์ม" ของไอบีเอ็มอาจจะเปลี่ยนไป
แทนที่วนารักษ์ เอกชัย ทายาทของตระกูลหนังสือพิมพ์ จะยึดวิชาชีพสายข่าวตามที่เขาได้สัมผัสมาตลอดชีวิต
เพราะไม่ว่าจะเป็นสนิท เอกชัย บิดาของเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของหนังสือพิมพ์
"เดลินิวส์" และผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ เดลิไทม์ และเสริมศรี
เอกชัย ผู้เป็นมารดา คอลัมนิสต์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา "สนทะเล"
และปัจจุบันยังเป็นกรรมการในบริษัทมติชนด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
ตู้เอทีเอ็ม หมดยุคไอบีเอ็มกินรวบ
ธนาคาร คือกลุ่มลูกค้าคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่นำคอมพิวเตอร์ ไปใช้งานบริหารข้อมูลภายในองค์กรมารช้านานแล้ว
เพราะหัวใจการรบสมัยใหม่จะรู้แพ้รู้ชนะ จำเป็น ตัดสินกันด้วยฐานข้อมูลที่เร็ว
และถูกต้อง ที่จะสร้างความเป็นต่อในเชิงรุกธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)
โศกนาฏกรรมรีเอ็นจิเนียริ่ง ที่ไอบีเอ็ม
ตลอดเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ศัพท์ที่ฮิตมาก ๆ ในสังคมธุรกิจของไทย คือคำว่า " รีเอ็นจิเนียริ่ง" และมีเพียง 2 องค์กรใหญ่ เท่านั้น ที่ผู้นำกล้าประกาศต่อสาธารณชนว่ากำลังรีเอ็นจิเนียริ่ง บริษัทที่ตนเองบริหารอยู่ แห่งแรกคือ ธนาคารกสิกรไทย โดยบัณฑูร ลำซำ และสองคือบริษัทไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด โดยชายชัย จารุวัสต์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2538)
"คุณชาญชัย คงออกมาพูดเรื่อง รีเอ็นจิเนียริ่งไม่ได้อีกแล้ว"
ธงชัย สันติวงษ์
นักวิชาการที่เขียนเรื่องรีเอ็นจิเนียริ่ง มากที่สุดคนหนึ่ง ในไทย
ในแง่บทบาทของรีเอ็นจิเนียริ่ง โดยชาญชัย จารุวัสต์ นั้น ธงชัย ให้ทัศนะว่า
ชาญชัยได้ทำถูกต้องแล้ว
เขาให้ความเห็นว่า ชาญชัยได้รีเอ็นจิเนียริ่งไอบีเอ็มใน 2 ประการหลักคือ
หนึ่ง-รีเอ็นจิเนียริ่ง โครงสร้าง โดยปรับองค์กรภายในให้เล็กและกระชับลงตามธุรกิจที่เปลี่ยนไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2538)