iron lady
ภาพเบื้องหน้าของ "ผู้จัดการ" คือ หญิงสาววัย 38 ปี ที่เพิ่งขึ้นรับตำแหน่ง
Country General Manager ของ ไอบีเอ็มประจำประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด
เธอยังได้ชื่อว่า ผู้หญิงคนแรก ที่ขึ้นเป็นผู้นำบริษัทไอทีข้ามชาติที่เก่าแก่
และเคยยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
ที่มาของตำแหน่ง CGM
นับตั้งแต่การปรับโครงสร้างองค์กรไอบีเอ็ม ส่งผลให้ชื่อตำแหน่งของผู้นำองค์กรแห่งนี้ต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ตำแหน่ง Managing Director หรือกรรมการผู้จัดการ เป็นการสะท้อนถึงโครงสร้างในอดีตของไอบีเอ็ม
การบริหารงานแบบเอกเทศ มีการกำหนดนโยบายที่ใช้ดำเนินธุรกิจที่เป็นรูปแบบเฉพาะของตัวเอง
เป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กรุ๊ป (APG) ตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
Culture Change
สุราษฎร์ เลิศภูมิปัญญา เป็นลูกหม้อเก่าแก่ วัย 48 ปี จบคณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เริ่มงานกับไอบีเอ็มมาตั้งแต่ปี
2523 เริ่มจากเป็นวิศวกรระบบในยุคที่ไอบีเอ็มยังขายเครื่องพิมพ์ดีด ประสบการณ์
23 ปีในองค์กรแห่งนี้ทำให้เขาเรียนรู้ ช่วงเวลาของการเติบโต และจุดพลิกผันขององค์กรไอบีเอ็มมาแล้วหลายครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
eBusiness on demand
ในขณะที่ Sam Palmisano CEO ไอบีเอ็ม คอร์ปอเรชั่น ประกาศให้ eBusiness
on demand เป็นยุทธศาสตร์ที่จะทำให้ไอบีเอ็มหวนคืนสู่ความยิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง
จากการที่ให้ลูกค้าใช้ระบบไอทีไม่ต่างไปจากการใช้ไฟฟ้า หรือน้ำประปา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
หนึ่งเดียวในไอทีไทย
นอกจากศุภจี สุธรรมพันธุ์ จะอายุน้อยที่สุดที่ได้ขึ้นนั่งเก้าอี้ผู้จัดการใหญ่ของไอบีเอ็ม
ประเทศไทยแล้ว เธอยังเป็นผู้หญิงคนแรกและคนเดียวของผู้นำในวงการคอมพิวเตอร์ที่ได้ขึ้นมาอยู่ในตำแหน่งนี้
ยังไม่เคยมีบริษัทไอทีข้ามชาติรายใหญ่ๆ ที่เข้ามาเปิดสำนักงานในไทยที่ให้ผู้หญิงขึ้นเป็นเบอร์
1 ขององค์กรมาก่อนหน้านี้ ดูได้จากรายชื่อผู้บริหารดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
Blue Team
หนุ่มสาววัยใส อายุ 20 ต้นๆ ที่กาวพ้นรั้วมหาวิทยาลัยมาหมาดๆ เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของความคิดริเริ่มของ
ทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ ที่ต้องการสร้าง "เลือดสีฟ้า" ที่เป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของไอบีเอ็มกลับมาใช้อีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
เลือดสีฟ้า
หนุ่มสาววัย 20 ต้นๆ บุคลิกกระฉับกระเฉง ที่กลายเป็นบรรยากาศแปลกใหม่ ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของ
Blue Team ต่างรุ่นที่ได้ผ่านกระบวนการคัดเลือก และอบรมที่เหมือนกันๆ เพื่อไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
ใครบอกว่าช้างตัวอ้วนเต้นรำไม่เป็น
เมื่อ Louis Gerstner ขึ้นกุมบังเหียน IBM ในตำแหน่ง CEO ในปี 1993 นั้น
IBM อยู่ในสภาพบาดเจ็บสาหัส เงินกำลังไหลออกจากบริษัทแทบหมดตัว วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งเสริมให้ทุกคนคิดถึงแต่ตัวเองเป็นหลักกำลังทำร้ายบริษัทอย่างรุนแรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
สำนักงานไม่หยุดนิ่ง
นับตั้งแต่วันที่ 14 กันยายนที่ผ่านมา เป็นอีกวันหนึ่งที่มีความหมายต่อบรรดาพนักงานฝ่ายการตลาด
และฝ่ายบริการของไอบีเอ็ม ประเทศไทยทั้ง 220 คน เพราะไม่ได้เป็นเพียงวันแรกที่พวกเขาจะย้ายมาอยู่ชั้นที่
13 สำนักงานของไอบีเอ็ม แต่ยังเป็นวันที่พวกเขาเหล่านั้นจะไม่มีโต๊ะทำงานที่นั่งประจำเหมือนอย่างเคยอีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
IBM ยักษ์ใหญ่สีฟ้าในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์
ท่ามกลางการเติบโตและทวีบทบาทมากขึ้นของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ชื่อของ
IBM (International Business Machines Corporation) ย่อมต้องถูกจัดไว้ในฐานะบรรษัทคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดของโลกแห่งหนึ่งด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)