38 ปี ท่าเรือ…ผ่านไป…แล้วต่อ ๆ ไปจะเป็นอย่างไร !
ยุคสมัยปัจจุบันของประเทศไทยเรา ทุกคนคงไม่ปฏิเสธว่า เป็นยุคแห่งวงการธุรกิจของภาคเอกชนจะดีหรือไม่ดีอย่างไร
ก็เห็น ๆ กันอยู่แล้ว… องค์การรัฐวิสาหกิจ… ในขณะนี้เป็นอย่างไร ใคร ๆ ก็คงตอบได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
การท่าเรือฯ ยากูซ่าแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยา
หน่วยงานนี้มีบทบาทสำคัญต่อการนำเข้าและส่งออกสินค้าไทย แต่ปัญหาความแออัดที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ต้นปี
สะท้อนประสิทธิภาพการทำงานได้เป็นอย่างดีว่ามีน้ำยาแค่ไหน สาเหตุนั้นกล่าวอ้างกันต่าง
ๆ นานา
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
บางกอกเครนเน็จ ความแค้นของ ทวิช กลิ่นประทุม
เรื่องของบางกอกเครนเน็จนั้นเป็นแบบฉบับของวัฒนธรรมองค์กรของรัฐวิสาหกิจในบ้านเรา
ที่ยืนอยู่บนความพิกลอาศัยอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายเปิดช่องทางกินตามน้ำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเก็บเกี่ยวผลประโยชน์เข้าพกเข้าห่อตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
ชิปปิ้งไทย : อาชีพที่เฟื่องที่สุดในโลก
ธุรกิจชิปปิ้งมีมานานแล้ว ทำหน้าที่แทนผู้ส่งออกและนำเข้าโดยเกี่ยวข้องกับสองหน่วยงาน
คือกรมศุลกากร ในการเสียภาษีและดำเนินการตามพิธีศุลกากร ส่วนที่สองเกี่ยวข้องกับการท่าเรือฯ
โดยตรงคือกระบวนการที่ไปปล่อยของออกจากท่าเรือฯ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
การเมืองเรื่องปั้นจั่นท่าเรือ ผลประโยชน์ใคร...ใครก็หวง
ยุทธจักรริมน้ำย่านขนถ่ายสินค้าเข้า-ออกวันนี้กำลังร้อนระอุ ภายหลัง "เจ้าพ่อ" ริมน้ำ-การท่าเรือแห่งประเทศไทยประกาศเอกสิทธิหน้าท่าเก็บค่า "ต๋ง" การยกตู้คอนเทนเนอร์สินค้าเข้า-ออก ทั้ง ๆ ที่กว่าจะติดตั้งเครนเป็นของการท่าเรือเองเสร็จก็อีกปีกว่าโน่น ฝ่ายที่กำลังสบาย ๆ น่าจะเป็นบางกอกเครนเน็จ ที่ได้ทำหน้าที่แทนการท่าเรือช่วงปีกว่า ๆ นี้ แต่จะสบาย ๆ จริง ๆ หรือ?
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)