ยนตรกิจ บทเรียนการค้าขายกับฝรั่ง
การจะดำรงสถานะความเป็นผู้ค้ารถยนต์จากยุโปรรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยากสำหรับยนตรกิจ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา หลังบีเอ็มดับบลิว ซึ่งค้าขายร่วมกันมานานกว่า 30 ปี ต้องการจะเข้ามาทำตลาดด้วยตัวเอง สิ่งที่ยนตรกิจต้องดิ้นเอาตัวรอด คือ การเฟ้นหาพันธมิตรรายใหม่เข้ามา ซึ่งสุดท้ายก็ลงเอยที่โฟล์กสวาเกน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
ยนตรกิจขายโรลสรอยซ์-เบนท์ลี่ เกมนี้ต้องมองยาวๆ
โฟล์คสวาเกน แต่งตั้งยนตรกิจเป็นตัวแทนจำหน่าย รถยนตร์โรลสรอยซ์ และเบนท์ลี่อย่างเป็นทางการในประเทศไทย ขณะที่ยนตรกิจวาดหวังไกล จะเป็นศูนย์ซ่อมรถยนตร์หรูสองยี่ห้อนี้ ทั้งในระดับประเทศและภูมิภาค
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
ยนตรกิจกรุ๊ป จับโฟล์คขึ้นแท่นเป็นสินค้าหลัก
ความร่วมมือระหว่างยนตรกิจ กับโฟล์คสวาเก้น ด้วยการร่วมทุนจัดตั้งบริษัทถึง 2 แห่งคือ บริษัทโฟล์คสวาเก้นลิสซิ่ง และบริษัทยนตรกิจ โฟล์คสวาเกน มาร์เก็ตติ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
"โฟล์ก พัสสาท ใหม่ กับคำถามเพียงข้อเดียว"
โฟล์กสวาเกน พัสสาท ราคา "ล้านสี่"!!
ทันทีที่ได้ยิน ในความรู้สึกแรกของคนที่พอจะมีความรู้เรื่องราคารถยนต์ในระดับนี้อยู่บ้าง
ก็คงรู้สึกแปลกใจไม่ต่างกันออกไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2540)