กว่าจะมาเป็นแม่โขง
แม่โขงที่โรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่งตั้งอยู่ที่ปากคลองบางยี่ขัน ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
ในท้องที่แขวงบางปูน เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร อันเป็นโรงงานที่มีประวัติเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่ครั้งเริ่มสร้างกรุงเทพมหานคร
ซึ่งเคยเรียกกันว่ากรุงรัตนโกสินทร์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
และแล้วสงครามเหล้าก็เกิดขึ้น แสงโสมที่ตอนหลังต้องกลายเป็นโสม
การเข้าซื้อโรงงานสุราธาราวิสกี้ที่นครไชยศรี คือการวางแผนล่วงหน้าอันแยบยลของกลุ่มเถลิง
เมื่อพลาดจากการประมูลเข้าทำสุราแม่โขง แผนการถล่ม "แม่โขง" จึงเกิดขึ้นทันทีโดยการใช้โรงงานสุราธาราวิสกี้ผลิตสุรา
"แสงโสม" เลียนแบบอย่างสุรา "แม่โขง"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
หงส์ดิ้นสุดฤทธิ์ ยุทธการดึงทหารและการเมืองกลับเข้ามา
เมื่อภาพที่ต้องต่อเป็นชิ้นๆ เริ่มชัดขึ้นมาทีละเล็กละน้อย จนกระทั่งชัดขึ้นมาที่สุดว่าอนาคตของกลุ่มเถลิง
จะมีแต่อุปสรรคและขวากหนามในการผลิตเหล้า เพราะต้องเอาไปผูกเงื่อนที่คอตัวเองเอาไว้ก็ต้องหาคนมาช่วยแก้ปัญหาที่ตนเป็นคนก่อ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
อนาคตของการตั้งหรือขยายโรงงานอุตสาหกรรมในกรุงเทพฯ กำลังจะดับสิ้น
แนวโน้มของการขยับขยายการตั้งโรงงานในเขตตัวเมือง โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ นับวันจะยากยิ่งขึ้น
ประกอบกับมีการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งอันมีชื่อเรียกว่า "การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย"
ขึ้น ข้อความนั้นคงจะเข้าเค้า คำถามจึงผุดขึ้นมาในสมองว่า
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
สุรอมัตซิงห์
ถ้าจะมองสุระ จันทร์ศรีชวาลา ว่าเป็นนักเล่นแร่แปรธาตุแล้วละก็ คงจะผิดไปมากพอสมควร เพราะสุระไม่ใช่นักเล่นแร่ แต่สุระเป็นเพียงนายหน้าเท่านั้น การเป็นนายหน้าก็ต้องเป็นการติดต่อให้คนซื้อแล้วชักเปอร์เซ็นต์ หรืออาจซื้อมาถูกอาวัลก็ขายไปแพง หรืออาจจะซื้อขายถูกเพื่อหวังจะขายแพงในชิ้นต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)