ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล มาจากไหน?
จากแผนผังแสดงให้เห็นว่าท่านพ่อของ "หม่อมเต่า" คือ พลตรี มจ. ฉัตรมงคล โสณกุล ซึ่งเป็นนัดดาในรัชกาลที่ 4 และท่านสมรสกับพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุไรรัตน์ศิริมาน ซึ่งเป็นพระราชนัดดาในรัชกาลที่ 5
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
NEW BREED ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล จะมีความใหม่อะไรให้บ้าง
NEW BREED ในกระทรวงการคลัง ซึ่งเป็นคนหนุ่มรุ่น 40 กว่า ๆ ซึ่งจะขึ้นมากุมบังเหียนในตำแหน่งสำคัญ ๆ ของกระทรวงแทนคนที่จะเกษียณในปีนี้ และอีก 2-3 ปีข้างหน้า ซึ่งค่อนข้างว่างหลายตำแหน่ง NEW BREED มีแบ็คกราวด์การศึกษา และความคิดในการทำงานที่อาจจะแตกต่างกับคนรุ่นก่อน !? ในบรรดาหนุ่มทั้งหมด ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล ดูเหมือนจะขึ้นมาเร็วกว่าทุกคน การศึกษาถึงสไตล์ความคิดและการทำงานของเขาที่ดูเหมือนจะแตกต่างจากคนรุ่นก่อนมาก และในบางประเด็นก็ต่างกับคนรุ่นเดียวกัน มาทำความรู้จักกับ NEW BREED คนหนึ่งของกระทรวงการคลังกันเถอะ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ไกรศรี จาติกวณิช นักบุกเบิกแห่งกระทรวงการคลัง
ตระกูลจาติกวณิช มีชื่อเสียงมานานนับแต่หลุย จาติกวนิช (ชื่อเดิมคือซอเทียนหลุย)
เป็นลูกจีนที่เข้ามารับราชการกรมตำรวจ ได้ดิบได้ดีจนเป็นถึงอธิบดีกรมตำรวจมีบุตร
8 คน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
สังสรรค์ผู้บริหารทรัสต์ 4 เมษา ที่ผิดพลาดพลั้งไป...อภัยด้วย
เย็นวันนั้นวันที่ 23 มกราคม 2530 ที่ภาคบ่ายมีการประชุมร่วมระหว่างเจ้าหน้าที่กระทรวงการคลัง,
แบงก์ชาติและคนจากธนาคารกรุงไทย รัฐมนตรีคลังสุธี สิงห์เสน่ห์ นั่งเป็นประธานคู่กับ
ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีช่วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
โลโกธนาคารกรุงไทย, กระทรวงการคลัง นกไทยหรือนกฝรั่ง ?
ดวงตราของธนาคารกรุงไทยหรือเรียกทับศัพท์ว่า “โลโก” เป็นรูปนกที่รู้จักกันดีในชื่อของ
“นกวายุภักษ์” หรือเป็นโลโกที่ยืมมาจากกระทรวงการคลัง เช่นเดียวกันกับสำนักงานสลากกินแบ่ง
กรมสรรพสามิต กองกษาปณ์ และกรมบัญชีกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
ประเทศไทยสมควรมีรัฐมนตรีคลังคนใหม่หรือยัง
การดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังติดต่อกัน 5 ปีของสมหมาย ฮุนตระกูล
ในขณะที่ประเทศกำลังเผชิญปัญหาเศรษฐกิจติดต่อกันเรื่อยมา ทำให้ต้องมีมาตรการทั้งทางการเงินการคลังออกมาแก้ไขปัญหาไม่หยุดไม่หย่อน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง
บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ทำไมจะต้องมาลงที่สมหมายคนเดียว?
"อยากจะเรียนว่ารัฐบาลยืนยันว่าทางเศรษฐกิจ และฐานะทางการเงินของรัฐบาลดีขึ้น
ทั้งดุลชำระเงิน ทุนสำรองและค่าเงินบาทต่างอยู่ในสภาพที่ดี เสียงเล่าลือเกี่ยวกับการลดค่าเงินบาท
ยังมองไม่เห็นว่าจะต้องเป็นไปเช่นนั้น"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2527)