อี๊สต์เอเชียติ๊ก ผลัดแผ่นดิน"จองเคียร์" เปิดทางคนไทยเป็นใหญ่
อี๊สต์เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) เป็นเทรดดิ้งเฟิร์มเก่าแก่อายุไม่ต่ำกว่า
100 ปี สำนักงานที่ตั้งอยู่ริมน้ำเจ้าพระยายังคงรูปลักษณ์ตะวันตกอันภาคภูมิทั้งภายในและภายนอก
สายน้ำที่ไหลเอื่อย ๆ เป็นเช่นนี้นับร้อยปี ขณะที่วัฒนธรรมการบริหารที่อี๊สต์เอเชียติ๊กเปลี่ยนแปลงน้อยมากด้านผู้นำที่มีฝรั่ง
เป็นนายเสมอมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"ไชยยุทธ ตรงกมลธรรม "แรมโบ้"ของ "EAC" เขาไม่กลัวเจ็บ!!??"
ภาพยนตร์ชุด "แรมโบ้" ไม่ใช่พฤติกรรมความบ้าระห่ำซึ่งเป็นไปไม่ได้อย่างที่บางคนเข้าใจเท่านั้น
แต่ในมุมลึกของเรื่องสะท้อนให้เราได้เห็นถึงความรัก ความมีน้ำใจ ความกล้าที่จะรับผิดชอบ
และเชื่อมั่นต่อชีวิตกับงานที่ต้องทำว่าจะต้อง "สำเร็จ"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ก้าวใหม่ของอินโนเวชั่น ปฏิบัติการล้างอายของอีสต์เอเชียติ๊ก
หลังจากที่อีสต์เอเชียติ๊กต้องอกหัก เพราะนโยบายด้านธุรกิจไม่ตรงกันกับบริษัทแม่ของฮิตาชิที่ญี่ปุ่นแล้ว
อีสต์เอเชียติ๊กก็ไม่ได้เป็นตัวแทนขายฮิตาชิอีกต่อไป ทั้งภายในไทย มาเลเซีย
และสิงคโปร์มาตั้งแต่ปี 2527
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
อี๊สต์เอเชียติ๊ก - ฮิตาชิ ชั่วข้ามคืนเลิกกันแล้ว
เมื่อปลายเดือนธันวาคม 2526 มีการแถลงข่าวใหญ่ข่าวหนึ่งที่โรงแรมบางกอกฮิลตันปาร์ค
นายเลิศ เป็นข่าวการได้รับแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนจำหน่ายมินิคอมพิวเตอร์ยี่ห้อฮิตาชิ
ของบริษัทอี๊สต์เอเชียติ๊ก ประเทศไทย จำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2528)
คนเดนมาร์กบนแผ่นดินสยาม
ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเดนมาร์กเริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อปี
พ.ศ.2164 ครั้งกรุงศรีอยุธยายังเป็นราชธานี โดยเรือของชาวเดนมาร์กซึ่งมีโรแลนด์
แครปเป้ เป็นกับตันได้เดินทางมาเยือนกรุงสยามและทอดสมอลงบริเวณปากน้ำเจ้าพระยา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2527)
ฮิตาชิ + เฟลกซ์เดต้า อะไรจะเกิดขึ้น?
ฝ่ายอินฟอร์เมติคส์ของบริษัท์อี๊สต์เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) นั้น เป็นฝ่ายที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมาล่าสุดเมื่อไม่นานมานี้เอง โดยจะมีหน้าที่ดูแลสินค้า 2 ตัวคือ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ฮิตาชิ ซึ่งอี๊สต์เอชียติ๊กได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายพร้อมกัน 3 ประเทศในย่านเอเชียอาคเนย์
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2527)
อี๊สต์เอเซียติ๊กกับคอมพิวเตอร์ที่ซื้อใช้
มูลเหตุใหญ่ก็คือว่า เป็นงานบัญชีและสถิติ ซึ่งเดิมใช้คนทำแล้วปริมาณงานมันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากที่เราเพิ่มคนมากขึ้นเรื่อยๆ แต่การเก็บตัวเลขอะไรต่างๆ นี่ไม่ค่อยได้ทันเหตุการณ์ ใช้คนเยอะทีเดียว ก็ใช้ประมาณ 5-6 คนถึง 10 คน ก็มานั่งบวกบิลทีละใบ แล้วมานั่งแบ่งเขตตัวเลขของใครของใคร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2526)