"อะเมซิ่งไทยแลนด์ กับงบ 2 พันล้านสานฝันเศรษฐกิจไทยได้จริงหรือ"
ไทยเร่งสปีดรายได้จากการท่องเที่ยว หวังดึงเงินต่างชาติ 6 แสนล้านบาทในโครงการอะเมซิ่งไทยแลนด์
2541-42 พร้อมทุ่มงบรวม 1.8 พันล้านบาทเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ในปีแรกนักธุรกิจท่องเที่ยวชี้เป็นไปไม่ได้
หากภาครัฐไม่สนใจแก้ปัญหาแหล่งท่องเที่ยวและภาพพจน์ประเทศก่อน เน้นการท่องเที่ยวเป็นเรื่องระยะยาว
แก้ไม่ได้เพียงแค่โปรโมชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2540)
"Amazing Thailand ต้องช่วยกันทั้งประเทศ"
ทันทีที่แบงก์ชาติประกาศลอยตัวค่าเงินบาท ภาคธุรกิจที่ดูเหมือนจะเป็นความหวังสูงสุดของประเทศ
คือภาคการส่งออกและการท่องเที่ยว
ภาคส่งออกนั้นคงเริ่มกระเตื้องขึ้นเรื่อย ๆ และจะเห็นเด่นชัดอย่างเร็วก็ไตรมาส
4 ปีนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
"ศึกล้างบางใน ททท. "ประจวบเหมาะ" เจออีกแล้ว"
"ผมไม่ใช่คนแรกที่โดนแบบนี้" เป็นคำพูดสั้น ๆ ของธรรมนูญ ประจวบเหมาะ
ผู้ซึ่งบัดนี้กลายเป็นอดีตผู้ว่าการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยไปแล้ว ครั้งนี้ก็เป็นครั้งที่สองที่คนในตระกูลประจวบเหมาะโดนมรสุมการเมืองหลังจากเหตุที่สมหมาย
ฮุนตระกูลปลดนุกูล ประจวบเหมาะพ้นจากผู้ว่าแบงก์ชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
"เปิดเสรี…. ร้านค้าปลอดอากรในเมือง ผลประโยชน์ตกอยู่กับใคร ?"
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยคิดสร้างธุรกิจร้านค้าปลอดอากรเหมือนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยโดยมีเป้าหมาย
เพื่อหารายได้เพิ่มโดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากเจ้าของสัมปทานได้อัตราร้อยละ
10 ของรายได้ยอดขายก่อนหักค่าใช้จ่าย มีอายุสัมปทาน 5 ปี แต่วันนี้หาก ครม.
มีมติให้เปิดเสรีไม่ผูกขาดสัมปทานเพียงรายเดียวในเมืองไทย ใครจะเป็นผู้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
"วิชัยแห่งดาวน์ทาวน์กลับมาบริหารร้านค้าปลอดอากรอีกครั้ง!"
เมื่อ 2 ปีก่อนได้มีมติ ครม. ของรัฐบาลชุดชาติชายประกาศให้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
(ททท.) รัฐวิสาหกิจอีกแห่งหนึ่งดำเนินธุรกิจร้านสินค้าปลอดอากรในเมืองไทยได้ในลักษณะของการให้สัมปทานเอกชน
ในการจัดดำเนินการโดยมีผลประโยชน์ร่วมกันระหว่าง ททท. และบริษัทเอกชนดังกล่าว
หลังจากให้การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยทำธุรกิจชนิดเดียวกันในลักษณะเดียวกันนี้ที่สนามบินดอนเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"นางงามจักรวาลกับการท่องเที่ยว"
การประกวดนางงานระดับนานาชาติเคยจัดขึ้นที่เมืองไทยมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ
4 ปีที่แล้ว ถึงแม้ว่าความยิ่งใหญ่ของการประกวด "มิสออลเนชั่นส์" จะเทียบไม่ติดกับการประกวด
"มิสยูนิเวิร์ส" ก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"เขาใหญ่เที่ยวได้แต่ห้ามค้าง"
มติคณะรัฐมนตรีที่สั่งให้ย้ายสถานประกอบการออกจากเขาใหญ่เป็นเรื่องที่สร้างความตื่นตกใจอย่างมาก
โดยเฉพาะในหมู่นักท่องเที่ยวที่คุ้นเคยกับอุทยานธรรมชาติที่เก่าแก่ที่สุดแห่งนี้ซึ่งก็คงหมายถึงคนไทยเกือบทั้งประเทศนั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
จุดขายใหม่ของ ธรรมนูญ ประจวบเหมาะ
หกเดือนแรกของปีนี้ ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ธรรมนูญ ประจวบเหมาะต้องกุมขมับเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่การท่องเที่ยวไทยลดฮวบฮาบลงถึง
15.39% เมื่อเปรียบเทียบกับระยะเดียวกันของปีที่แล้ว โดยปริมาณนักท่องเที่ยวที่มาไทยลดเหลือเพียง
1,617,366 คนจากเดิม 1,911,650 คน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
เที่ยวลาวยังมีข้อจำกัด
ลาวเป็นประเทศที่ล้อมรอบด้วยแผ่นดิน มีประชากรประมาณ 4 ล้านคน ในด้านเศรษฐกิจยังถือว่าอยู่ในขั้นเริ่มต้นของการพัฒนาเท่านั้น
โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวประมาณ 200 ดอลลาร์สหรัฐ และมีการหมุนเวียนของเงินตราที่เกิดขึ้นจากธุรกรรมทางการค้าค่อนข้างต่ำ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)