“ภูเก็ต” ยุค 3G เวทีนี้ฝรั่งเล่นกันเอง
หากเหตุการณ์จลาจลเผาโรงงานแทนทาลัมเมื่อปี 2529 เป็นจุดเปลี่ยนครั้งแรกของเกาะภูเก็ต ทำให้จุดขายของเมืองเปลี่ยนจากการทำเหมืองแร่มาเป็นเมืองตากอากาศระดับโลก หายนภัย "สึนามิ" ในปี 2547 ก็เป็นเหมือนจุดเปลี่ยนครั้งที่ 2 ที่ยกระดับภูเก็ตให้เป็นเป้าหมายของบรรดามหาเศรษฐีที่ต้องการมีกรรมสิทธิ์เหนือที่ดินและสิ่งปลูกสร้างระดับหรูตามพื้นที่ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงามรอบเกาะแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
โฮ กวงปิง ทำธุรกิจผสานงานอนุรักษ์
ชื่อโฮ กวงปิง บุตรชายคนโตของนายห้าง โฮ ริทวา สร้างอาณาจักรไทยวาไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก อย่างกว้างขวางนักในหมู่สื่อมวลชนไทย แม้ว่ากลุ่มธุรกิจนี้จะเข้ามาลงหลักปักฐานในประเทศไทย เป็นเวลานานถึง 47 ปีแล้วก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"ก้าวใหม่ของไทยวา อัตราเสี่ยงวัดที่พรอพเพอตี้!"
ปัจจุบันไทยวาได้รับการกล่าวขานว่าเป็นหนึ่งในห้าบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำในเอเชีย
จุดเชื่อมต่อประวัติศาสตร์ที่พลิกโฉมหน้าของไทยวาจากผู้ส่งออกมันสำปะหลังรายใหญ่สู่ธุรกิจโรงแรมและสำนักงาน
เกิดขึ้นจากจินตนาการอันบรรเจิดของนักบริหารหนุ่มหัวก้าวหน้า "โฮ กวง
ปิง"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"โฮ กวง ปิง มหาเศรษฐีหัวก้าวหน้า"
ใคร ๆ ก็เรียก "โฮ กวง ปิง" ว่า "เค พี" เขาเป็นประธานกลุ่มวาชัง
(สิงคโปร์) และกลุ่มไทยวา (ประเทศไทย) ที่มีประวัติส่วนตัวที่น่าสนใจมาก
มิใช่ในฐานะทายาทมหาเศรษฐี โฮ ริท วา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"เหลียนฟ่ง" ผู้อยู่เบื้องหลังนักสู้แห่งไทยวา"
ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของไทยวากรุ๊ปมีตำนานแห่งชีวิตนักสู้ชาวสิงคโปร์ที่
"โฮริทวา" ได้บันทึกไว้เป็นความทรงจำในหนังสือชื่อ "EATING
SALT" หรือ "นักสู้แห่งไทยวา" เพื่อเป็นมรดกทางความคิดแก่ลูกหลาน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
THAI-WAH THE MAN, THE SITUATION AND THE FUTURE
ไทยวาเป็นธุรกิจแบบเอเชียดั้งเดิมที่มีพัฒนาการไม่ขาดสาย ผูกพันกับสถานการณ์ในลักษณะที่เป็นฝ่ายถูกกระทำมาตลอด
ในห้วงเวลาเกือบๆ 40 ปีแล้ว เมื่อปลายปีที่แล้วมีความพยายามอย่างมากของผู้บริหารเพื่อผลักดันไทยวาให้พ้นวิถีดำเนินเดิมๆ อันจะทำให้มองเห็นอนาคตแจ่มชัดขึ้น วันนี้สิ่งที่คาดหวังเหล่านี้ยังไม่อาจหาคำตอบได้แจ่มชัดนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
เครือข่าย THE WAH-CHANGE GROUP
วาชัง อินเตอร์เนชั่นแนล เกิดขึ้นครั้งแรกที่จีนแผ่นดินใหญ่และนิวยอร์ก
สหรัฐอเมริกา ในปี 2448 เมื่อ ดร.เคซีลี. สิ้นชีวิตเมื่อประมาณ 2510 กิจการวาชังที่นิวยอร์กแทบไม่มีอะไรเหลือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)