สังสรรค์ผู้บริหารทรัสต์ 4 เมษา ที่ผิดพลาดพลั้งไป...อภัยด้วย
เย็นวันนั้นวันที่ 23 มกราคม 2530 ที่ภาคบ่ายมีการประชุมร่วมระหว่างเจ้าหน้าที่กระทรวงการคลัง,
แบงก์ชาติและคนจากธนาคารกรุงไทย รัฐมนตรีคลังสุธี สิงห์เสน่ห์ นั่งเป็นประธานคู่กับ
ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีช่วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
กรุงไทยฟ้องเสธ.พล.-ตามใจ แค้นต้องชำระ
ในบรรดาพรรคการเมืองหลายๆ พรรคที่ชูป้ายค้านการกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่ชื่อว่าพลเอกเปรม
ติณสูลานนท์ พรรคสหประชาธิปไตยที่มีนายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ เป็นหัวหน้าพรรคดูเหมือนจะได้รับความบอบช้ำมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
หาก "ตามใจ" อยู่ยั้ง ยืนยง "วรุณ-บุญเลิศ" ก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย…
กรณีธนาคารกรุงไทยยื่นฟ้องตามใจ ขำภโต อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ชื่ออีกชื่อหนึ่งที่ถูกฟ้องร่วมกันก็คือ
ดร.วรุณ กาญจนกุญชร อดีตรองผู้จัดการฝ่ายสินเชื่อสำนักงานใหญ่ ด้วยข้อหาปล่อยสินเชื่อโดยการผ่านเช็คให้กับบริษัทสีลมพลาซ่าเป็นจำนวนเงินกว่า
30 ล้านบาท ซึ่งเงินจำนวนนี้ไม่มีสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีและไม่มีหลักประกัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
เรามีอำนาจในการคุมตลาดเงินได้มากพอสมควรแล้ว
ในระยะ 3 เดือนที่นั่งทำงานในธนาคารกรุงไทย ผมเห็นว่าปัญหาสำคัญของธนาคารกรุงไทยพอจะแยกแยะออกมาได้
4 เรื่องด้วยกัน ประการแรก ก็คือเร่งการขยายตัวของกองทุนธนาคารเพื่อทำให้การปล่อยสินเชื่อเพิ่มขึ้น
ปัญหาที่สอง ก็คือการขาดประสิทธิภาพด้านบริหารการเงิน รวมทั้งขาดการประสานงานระหว่างฝ่ายงาน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
ตามใจ ขำภโต นาย (จันหนวด) เขี้ยว แห่งค่ายกรุงไทย
ถ้าถามคนหลาย ๆ คนว่าเวลาเอ่ยชื่อตามใจ ขำภโต เขาจะคิดถึงอะไรก่อน ก็คงได้รับคำตอบไปคนละทิศละทาง
แต่ที่น่าจะตรงกันก็คือเรื่อง “หนวด” และ “เสียง” ที่แหบพร่าอันเป็นเอกลักษณ์ประจำตัว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
โลโกธนาคารกรุงไทย, กระทรวงการคลัง นกไทยหรือนกฝรั่ง ?
ดวงตราของธนาคารกรุงไทยหรือเรียกทับศัพท์ว่า “โลโก” เป็นรูปนกที่รู้จักกันดีในชื่อของ
“นกวายุภักษ์” หรือเป็นโลโกที่ยืมมาจากกระทรวงการคลัง เช่นเดียวกันกับสำนักงานสลากกินแบ่ง
กรมสรรพสามิต กองกษาปณ์ และกรมบัญชีกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
คำปราศรัยครั้งแรกและครั้งสุดท้ายของ ตามใจ ขำภโต
เมื่อวันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2528 ที่โรงแรมแกรนด์พาเลซ พัทยา ธนาคารกรุงไทยได้มีการจัดสัมมนาผู้บริหารระดับสูงร่วมกับผู้จัดการสาขาทั่วประเทศ
217 สาขา เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ธนาคารพาณิชย์ของรัฐแห่งนี้ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น
236 คน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
ไม่มีงานเลี้ยงใดที่ไม่เลิกรา
เจ้าของประโยคข้างบนนี้ก็คือ ตามใจ ขำภโต ที่พูดในงานเลี้ยงที่กรรมการสหภาพแรงงานพนักงานกรุงไทยจัดเลี้ยงส่งให้ที่ห้องอาหารฮ่องเต้
โรงแรมแอมบาสเดอร์ เมื่อเที่ยงวันที่ 21 มกราคม 2529
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)