Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ54  
Positioning6  
ผู้จัดการรายวัน199  
ผู้จัดการรายสัปดาห์5  
PR News24  
Web Sites1  
Total 284  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารกรุงไทย


นิตยสารผู้จัดการ (21 - 30 of 54 items)
อนุชา จินตกานนท์ ปากเสียงผู้ถือหุ้นรายย่อยในแบงก์กรุงไทย ธนาคารกรุงไทย เป็นบริษัทแรกในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ได้มีการคัดเลือกกรรมการตัวแทนจากผู้ถือหุ้นรายย่อย และอนุชา จินตกานนท์ คือผู้ได้รับเลือกจากผู้ถือหุ้นรายย่อย บทบาทของตำแหน่งดังกล่าวเป็นเรื่องที่น่าติดตาม โดยเฉพาะเมื่อคำนึงถึงบุคลิกของอนุชา ซึ่งอาจทำให้การประชุมบอร์ดธนาคารในช่วงจากนี้ไปมีสีสันมากขึ้น(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
ไทยพาณิชย์-กรุงไทย สองความต่างบนเส้นทางอี-คอมเมิร์ซ การบูมของอิเล็กทรอนิกส์ คอม เมิร์ซ หรือ อี-คอมเมิร์ซของเมืองไทยในระยะนี้ มีหลายปัจจัยด้วยกัน และที่มองข้ามไม่ได้เลยก็คือ บทบาทของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเกี่ยว ข้องโดยตรงกับการชำระเงิน ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนการของอี-คอมเมิร์ซ(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
จุดจบแบงเกอร์ไทย โฉมใหม่อุตสาหกรรมธนาคาร 14 สิงหาคม เป็นวันที่หลายคนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ แม้จะมีข้าวแพลมออกมาเป็นระยะๆ เกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง และแนวทางการดำเนินการธนาคาร 4 แห่ง ที่รัฐบาลประกาศเข้ายึดอำนาจการบริหารและการถือหุ้นเมื่อ 23 ม.ค. (ธ.ศรีนคร) และ 6 ก.พ. 2541 (ธ.นครหลวงไทย, ธ.มหานคร และ ธ.กรุงเทพฯ พาณิชย์การ) แต่ปฏิบัติการจริงๆ เริ่มได้หลังเจรจาปรึกษากับเจ้าที่ไอเอ็มเอฟและเอดีบี - เจ้าของเงินกู้รายใหญ่ของประเทศไทยตอนนี้(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)
โบนัสเป็นพิษรอยด่างในใจของชายชื่อศิรินทร์ เรื่องราวของโบนัสกลายเป็นเรื่องที่วุ่นวายอย่างไม่น่าเชื่อ เพราะไม่ใช่แค่ที่บริษัทซันโยเท่านั้นแล้ว แต่หลายแห่งก็มีการไม่พอใจในเรื่องของโบนัสที่เกิดขึ้นด้วยเช่นกัน(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
"ธนาคารกรุงไทย" ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารแห่งแรกที่เข้าไปตั้งสำนักงานสาขาอย่างเต็มรูปในพนมเปญ โดยได้รับความเห็นชอบจากธนาคารกลางกัมพูชา และเพิ่งได้ฤกษ์เปิดดำเนินการไปเมื่อ 29 พฤษภาคมที่ผ่านมา(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ฐานะรัตน์ ภูมิพาณิชย์พงษ์ วาณิชธนากรในกรุงไทย" วาณิชธนากรสาวชาวสงขลาคนนี้เพิ่งเข้ามาสู่วงการเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา แต่สามารถสร้างผลงานจนได้รับความยอมรับเป็นอย่างดีว่าไปแล้วเธอลุยงานในวงการแบงกกิ้งที่สหรัฐฯ(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ติดลม 3,500 ล้านบาท ขายธนาคารสยาม เกือบ 4 ปี แล้วที่กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยสั่งให้รวมเอาธนาคารสยามเข้ากับธนาคารกรุงไทย โดยฝ่ายหลังรับเอาทรัพย์สินอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ และลูกค้าทั้งเงินฝาก และสินเชื่อดีๆ ไป คงทิ้งไว้แต่เครื่องพิมพ์ดีด โต๊ะ เก้าอี้ และพรมปูพื้นที่เก่าคร่ำคร่า ขาดกะรุ่งกะริ่ง ให้เป็นอนุสรณ์และที่ทำการเริ่งรัดติดตามหนี้สินที่ยังคั่งค้างอยู่ถึง 7,600 ล้านบาท(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
งานที่ "หิน" ที่สุดในกรุงไทย พนัส สิมะเสถียรนำศิรินทร์จากการปิโตรเลียมมาอยู่ที่กรุงไทย เป็นภาระกิจที่หนักที่สุดของ ศิรินทร์ เพราะเขาต้องเผชิญกับวัฒนธรรมองค์กรที่ล้าหลังมานาน ขณะที่ผู้ใหญ่คาดหวังว่าเขาจะสามารถนำแบงก์ไปสู่การเป็นผู้นำตลาดการเงินสนองนโยบายการบริหารเงินของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ามกลางความสามารถ ในการทำกำไรที่อยู่ในระดับธนาคารชั้นนำ(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
สหัส ตรีทิพยบุตร ไฟกำลังติดเชื่อในกรุงไทย ในความเป็นรัฐวิสาหกิจที่เก่าแก่ทรุดโทรมของธนาคารกรุงไทยร่วมสองทศวรรษ ทีผ่านมา นั้น ยังปรากฏมีแสงริบหรี่ของคนทีมีจิตใจและการทำงานแบบเอกชนอยู่ด้วยในมุมหนึ่งของแบงก์ ซึ่งวันนี้มันได้กลายเป็นไฟติดเชื้อที่กำลังจะลุกโชติช่วงท้าทายการพิสูจน์อย่างยิ่ง(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2533)
กรุงไทยพลาดอีกแล้ว ความพยายามของบริษัทสุขุมวิทคอนโดมิเนียมเป็นจริงขึ้นมาเมื่อสัญญา 3 ฝ่ายระห่างบริษัทเงินทุนสินวัฒนา ธนาคารสยาม และธนาคารกรุงไทย ถูกร่างและลงรายมือชื่อร่วมกันโครงการฟื้นฟู "ตึกทอง" เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2532 ที่ผ่านมา(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us