Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ50  
Positioning14  
ผู้จัดการรายวัน168  
ผู้จัดการรายสัปดาห์16  
PR News36  
Total 268  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ปตท., บมจ.


นิตยสารผู้จัดการ (31 - 40 of 50 items)
ปั๊มน้ำมันไร้สารตะกั่วที่ภูเก็ตเบื้องหลัง ปตท. เฉือนเชลล์ได้อีกครั้ง หลักจากที่มีการเปิดขายน้ำมันเบนซินไร้ สารตะกั่วขึ้นอย่างแพร่หลายในกรุงเทพโดยมีการปีโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) เป็นคนชูธงเปิดขายเป็นรายแรกจจึงให้เชลล์ที่จะเป็นผู้นำต้องกลายมาเป็นผู้ตามแล้ว "ภูเก็ต" ยังกลายเป็นสนามอีกแห่งหนึ่งที่ ปตท. ได้แซงโค้งคู่แข่งอื่นโดยเฉพาะเซลล์อีกครั้งหนึ่ง(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
แผนรุกฆาตตลาดน้ำมันไร้สารตะกั่วของเชลล์และปตท. ทันทีที่รัฐบาลและคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติที่มีอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีเป็นประธานได้ประกาศอย่างแจ้งชัดถึงแนวทางที่จะให้ผู้ค้าน้ำมันนำน้ำมันไร้สารตะกั่วหรือ ULG (Unleaded Gasoline) เข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยให้ได้ภายในเดือนพฤษภาคม(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
วิเทศ วิสนุวิมล มือปิโตรเคมีของปตท. นักปิโตรเคมีในเมืองไทยนั้นเรียกว่านับตัวกันได้ทีเดียว…! ที่มีอยู่และรู้จักกันดีก็มักจะทำงานในภาคเอกชน อาทิ ศิริ จิรยะพงษ์พันธ์ รองผู้จัดการอาวุโสดูแลสายงานด้านปิโตรเคมี ธนาคารกรุงเทพ จากเดิมซึ่งเคยอยู่บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (ปคช.) ประมวล เลี่ยวไพรัตน์ ผู้ดูแลการบริหารโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกพีอีของบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (ทีพีไอ)(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
ควบบางจากเข้ากับปตท. "ข้ามศพโสภณไปก่อน" การที่โสภณ สุภาพงษ์ โต้โผของบางจากฯ จับมือสมหญิง เสรีวงศ์ หัวเรือแห่งสยามนกไม้ รุกตั้งปั๊ม "นกไม้" ขายน้ำมันราคาถูกกว่าตลาดเป็นเจ้าแรกที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
M.D. บริษัททีเอซี ตัวแปรอยู่ที่เกษม "เลื่อน" ชื่อของเขามักจะถูกยกขึ้นมากล่าวขานคู่คี่พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสำคัญขององค์กรรัฐวิสาหกิจครั้งใหญ่ ๆ อย่างน้อยก็สองครั้งด้วยกัน(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
บริษัทดาวบริวาร : ฝันในก้อนเมฆของ ปตท. "ผู้บริหารระดับสูงกำลังอึดอัด เส้นทางในอำนาจ ระบบจัดสรรอำนาจหน้าที่ไม่เปิดกว้างให้ขึ้นสู่ที่สูง ผลตอบแทนต่ำ ลักษณะงานในหน้าที่ฐานะเป็นองค์กรพลังงานของชาติที่ต้องพลวัตรการทำงานตามสภาวะแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ปตท. ผู้เป็นทั้งกรรมการและผู้เล่น "เราต้องแข่งขันกับบริษัทต่างชาติต้องทำงานเหมือนกับเขา วิธีเดียวที่จะแข่งกับเขาได้ คือ ต้องเหมือนเขา เราต้องหารออกมาเลยว่า เราขายเท่าไร คนหนึ่งสามารถทำผลงานให้ได้เท่าไหร่ นึกภาพว่าเราต้องปรับคนของเรา ต้องรู้เขารู้เรา เราต้องรู้ว่าต้นทุนต่อหน่วยของเราเป็นเท่าไหร่ ต้นทุนต่อหน่วยของเขาเป็นเท่านี้ ทำไมของเราสู้เขาไม่ได้ ทำอย่างไรของเราจึงจะมีประสิทธิภาพ…(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
คลาสสิก เคส ของ ป.ต.ท. คูรด้านกลับที่ศุกรีย์ต้องรู้ไว้ สถานะทางการเงินของ ปตท. กับบรรษัทนอยู่ในสถานะที่เหมือนกันคือ ต่างก็ประสบปัญหาการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศนับพันล้านบาทปี 2530 ปตท.ได้รายงานว่าขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ตั้งไว้รอตัดบัญชีประมาณ 3,582 ล้านบาท หรือประมาณครึ่งหนึ่งของยอดขายทุนของบริษัท(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
ปิโตรเคมีแห่งชาติ จากเลวร้ายกำลังจะกลายเป็นดี คงไม่แปลกอะไรที่จะกล่าวว่าโครงการปิโตรเคมีขั้นต้น (NPC-1) และปิโตรเคมีระยะที่ 2 (NPC-2) ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ กว่าจะผ่านการเติบโตในแต่ละขั้นมาได้ ก็ต้องฟันฝ่ามรสุมมา ไม่น้อยเลยทีเดียว(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ผมสร้าง ปตท.จากไม่มีอะไรเลย… ดร.ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์ เมื่อกล่าวถึงการบริหารงานที่การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยแล้ว ผมว่าการบริหารงานที่นั่นมันเป็นไปตามภารกิจ เมื่อมีภาระที่มอบหมายมาก็ต้องมีคนทำ(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us