Once in My Life
"ไทยพาณิชย์" เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งที่ 3 ที่ ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย
มีโอกาสได้มานั่งในตำแหน่งผู้บริหารสูงสุด และดูเหมือนจะเป็นธนาคารเดียว
ที่เขาประสบความสำเร็จ สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่เขาตั้งใจไว้มากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
"หลัง BIS แบงก์แหลมทองยังลำบากอยู่"
แบงก์แหลมทองเป็นแบงก์เล็กที่สุด แต่ด้วยภาพที่แยกไม่ออกจากราชาที่ดินอย่าง
สุระ จันทร์ศรีชวาลา ทำให้หลาย ๆ คนมองว่าแบงก์เล็กแห่งนี้ จะพลิกฐานะขยับอันดับขึ้นเพราะส้มหล่นจากกฎ
BIS ที่นับการตีราคาที่ดินเข้าเป็นเงินกองทุน หากแท้จริงแล้วหาใช่เป็นเช่นนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
กำจร VS สุระ คมเฉือนคมภาคเฉพาะหน้า
สุระ จันทร์ศรีชวาลา เขาจะเชื่อเรื่องดวงหรือไม่ มิอาจทราบได้ แต่ถ้าเชื่อ ก็คงจะต้องยอมรับว่าหลายปีมานี้ดวงของเขาพระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรกอยู่ไม่ได้ หยุดจริง ๆ เป็นไปได้หรือไม่ที่ถ้าสุระไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับแบงก์แหลมทอง ป่านนี้สุระอาจจะกำลัง "สบายกว่ากันแยะเลย" ไปตั้งนานแล้ว และก็คงไม่ต้องมานั่งเล่นเกมเกทับบลัฟฟ์แหลกกับคนโตแบงก์ชาติภายใต้การนำของผู้ว่ากำจร สถิรกุล เช่นทุกวันนี้อีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
แหลมทองวันนี้ สุระยังหนังเหนียวจริงหรือ!!
ภายหลังการประชุมสามัญประจำปี ผู้ถือหุ้นธนาคารแหลมทองเมื่อวันที่ 21 มีนาคม
2531ผ่านพ้นไป คนที่ออกมานั้นสำหรับแบงก์ชาติผู้จับจ้องที่จะ "ฟัน"
ใครต่อใครให้กระเด็นไปจากแบงก์ก็คงจะกระอักกระอ่วนไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
จากซื้อทุกอย่างกลายเป็นต้องทำทุกอย่าง
ดูเหมือนจะได้กลายเป็นประเพณีไปแล้วที่วันหนึ่งในรอบปี ชมรมประชาสัมพันธ์ธนาคารพาณิชย์ไทย
ซึ่งเป็นชมรมของเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของ 16 แบงก์พาณิชย์สัญชาติไทยทั้งหลายจะจัดงานสังสรรค์กัน
และถือโอกาสเชื้อเชิญบรรดาผู้สื่อข่าวเข้าร่วมและกระชับสายสัมพันธ์ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
อภิวัฒน์ นันทาภิวัฒน์ ถึงวันที่ต้องโตเสียที
"อยากให้โลกนี้ไม่มีสุระ" คงไม่เพียงสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ เท่านั้นที่คิดอย่างนี้
พี่น้องนันทาภิวัฒน์ส่วนใหญ่ ก็คงจะคิดในทำนองเดียวกัน จะมีที่แตกต่างก็คงจะเป็นสะใภ้ใหญ่และภิวัฒน์นันทาภิวัฒน์ซี้ปึ้กของสุระผู้วายชนม์ไปเมื่อหลายปีก่อนหน้านี้เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
อวสานนายแบงก์
เราต้องไม่ลืมว่า สภาพสังคมธุรกิจแบบอเมริกัน ซึ่งกระหายเงินขาดมนุษยธรรมและเต็มไปด้วยการชิงดีชิงเด่นกัน
จะมีส่วนบีบคั้นวิลลี่โลแมน (WILLY LOMAN) ให้เดินทางไปพบจุดจบที่น่าเศร้าสลดใจในอวสานเซลล์แมน
(DEATH OF A SALESMAN) ของอาเธอร์ มิลเลอร์ (ARTHUR MPLLER) นักเขียนรางวัลพูลิทเซอร์
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
แบงก์แหลมทอง-สหธนาคารร่องรอยประวัติศาสตร์และทางแยก
นักประวัติศาสตร์ธุรกิจมักจะสรุปความเห็นสอดคล้องต้องกันว่า ยามใดที่เกิดวิกฤตการณ์ความขัดแย้งที่ธนาคารแหลมทองแล้ว
มักจะติดตามมาด้วยสหธนาคาร วนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป แม้สงครามล่าสุดในธนาคารแหลมทองใกล้ยุตินี้นั้น
เรื่องราวในสหธนาคารก็ทำท่าจะใกล้จุดไคลแม็กซ์เข้าไปทุกที
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)