Life with TOC
วงจรขาขึ้นของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีรอบนี้ ช่วยให้ไทยโอเลฟินส์พลิกฟื้นฐานะที่เคยย่ำแย่กลับมาเป็นบริษัทดาวเด่นแห่งหนึ่งในตลาดหลักทรัพย์ฯ ขณะเดียวกันก็วางกลยุทธ์เพื่อเตรียมรับช่วงขาลงที่อาจจะมาถึงในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า โดยเริ่มขยับเข้ามาใกล้ผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
TOC ร่วมทุนเยอรมนี
เมื่อวันที่ 10 มกราคม ที่ผ่านมา บริษัทไทยโอเลฟินส์ จำกัด (มหาชน) หรือ TOC ผู้ผลิตโอเลฟินส์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีรายใหญ่ของไทย ได้มีพิธีลงนามสัญญาร่วมทุนกับบริษัท ค็อกนิสไทย จำกัด ในเครือ COGNIS จากเยอรมนี ก่อตั้งบริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด ในสัดส่วนการถือหุ้นฝ่ายละ 50%
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
ประหยัด 3,000 ล้านสร้างโอเลฟินส์
พละ สุขเวช ดูจะปลื้มกว่าใครที่การประมูลสร้างโรงงานเอททิลีนเฉียดสองหมื่นล้านของ
"ไทยโอเลฟินส์" พลิกความคาดหมายจากกลุ่มโตโยแห่งญี่ปุ่นเจ้าเก่ามาเป็นกลุ่มสโตนของสหรัฐฯ
ได้ในราคาที่ต่ำกว่าราคากลาง และเจรจาได้ถูกลงร่วมสามพันล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
29 แบงก์ยักษ์แห่ปล่อยเงินกู้ให้ทีโอซี
เมื่อเสร็จสิ้นการคัดเลือกผู้ประมูลก่อสร้างโรงโอเลฟินส์แล้ว ขั้นตอนต่อไปทีโอซีก็ต้องจัดหาแหล่งเงินกู้มาใช้ในโครงการ
แยกเป็นค่าก่อสร้างโรงงาน 500 ล้านเหรียญสรอ. และค่าใช้จ่ายอื่นอีก 220 ล้านเหรียญสรอ.
รวมเป็น 720 ล้านเหรียญสรอ.
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
ปิโตรเคมี 2 พังแล้ว
เมษายนนี้ เป็นกำหนดชี้ชะตาของปิโตรเคมี 2 โครงการที่มีอันต้องชะงัก เนื่องจากผลพวงของวิกฤติอ่าวเปอร์เซีย โดยทีมปฏิบัติงานได้สรุปเลื่อนโครงการออกไป และยังไม่รู้จะต้องเลื่อนไปอีกนานเท่าไหร่ ในเมื่อยังตกลงราคาวัตดุดิบขั้นต้นไม่ได้ ทำให้ผู้ผลิตและบริษัทผู้ซื้อวัตถุดิบต่างรอดูท่าทีกันว่าใครจะเริ่มก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
พละ สุขเวช "สไตล์นุ่ม จะช่วยเขาได้มาก"
"เขาเป็นคนสุขุม แต่ว่าช้าหน่อย นุ่มนวล เข้ากับคนได้ดี" เลื่อน
กฤษณกรี รองผู้ว่าการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ด้านปฏิบัติการก๊าซธรรมชาติกล่าวถึง
พละ สุขเวช รองผู้ว่าการปตท. ด้านวิชาการและวางแผนไว้อย่างนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)