เมื่อ GM-BMW เข้ามาปักหลักผลิตรถยนต์ในไทย
การขนานนามประเทศไทยเป็น "ดีทรอยจ์แห่งเอเชียตะวันออก" นั้น อาจไม่เกินเลยไปนัก
เพราะปัจจุบัน อุตสาหกรรมรถยนต์ขนาดใหญ่ของโลก ทั้งจากซีกยุโรป และสหรัฐอเมริกา
ต่างเข้ามาตั้งฐานการผลิตอยู่ในประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
ชุมพล ณ ลำเลียงได้กอดจีเอ็มแค่ในฝัน
ทันทีที่ผลประกอบการของอุตสาหกรรมเหล็กและกระดาษเริ่มส่อแววเป็นภาระหนักขึ้น
ขณะที่อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างก็กำลังจะยากเย็นแสนเข็ญในการต่อสู้ เครือซิเมนต์ไทยหรือปูนใหญ่จึงต้องดิ้นรนหาหนทางเพื่อขยายบทบาทในภาคอุตสาหกรรมอื่นที่มีอยู่ในเครือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
"พระนครยนตรการ" ยุคใหม่ จีเอ็มดันสุดตัว ใครว่าลดบทบาท
การประกาศจับมือกันระหว่าง พระนครยนตรการ และเจเนอรัล มอเตอร์ส แอคเซปแตนซ์
คอร์ปอเรชั่น (จีเอ็มเอซี) เพื่อรุกเข้าสู่ธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ในเมืองไทย
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2539 นั้น ไม่อาจตีความได้เพียงด้านใดด้านหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)
"ยักษ์ใหญ่ GM เริ่มสนใจตลาดรถไทย"
อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเพิ่มสูงขึ้น 30% เมื่อปี 2535 และเป็นที่คาดหมายว่าจะเพิ่มขึ้น 20% ในปีนี้ ตัวเลขเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องประกาศ ทุกคนคงทราบดีอยู่แก่ใจจากปริมาณรถยนต์บนท้องถนนและสภาวะการจราจรติดขัดที่รุนแรงขึ้นทุก ๆ วันและยากที่จะเยียวยาแก้ไข
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
เดอะซูเปอร์แมเนเจอร์
9. ขุนพลยิ่งใหญ่ของ เยนเนอรัลมอเตอร์
ถ้าจะถามถึงผู้บริหารของยี.เอ็ม. แล้วคนส่วนใหญ่จะรู้จักกันเพียงไม่กี่คน
เช่น ฮาว์ดลว์ เคอร์ติส และ จอห์น ซี.
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2528)