รอดตายแล้ว แต่ยังห่างฝั่ง
การคืนเงินซอฟต์โลนก่อนกำหนด 7 เดือนของแบงก์มหานคร ชี้ชัดว่าผู้บริหารแบงก์แห่งนี้สามารถแสดงให้ตลาดการเงินทั้งในและนอกประเทศรับรู้ว่า มหานครฟื้นตัวจากการเจ็บป่วยแทบเอาตัวไม่รอดจากปัญหาหนี้เสีย และการขาดทุนจากการปริวรรตเงินตราต่างประเทศประมาณ 7,762 ล้านบาทเมื่อ 5 ปีก่อนเรียบร้อยแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
จากหนี้เสียกลายเป็นหนี้ดี
4 ปีเศษ ๆ ที่มาโนชเข้าแก้ปัญหาความเสียหายจากการปล่อยสินเชื่อจำนวนเกือบ
5,000 ล้านบาท มีหลายรายที่เขายอมรับว่าแบงก์ต้องตัดเป็นค่าใช้จ่ายหนี้สูญทันที
แต่ก็มีอยู่จำนวนหนึ่งที่เขาและทีมงานมีความรู้สึกภูมิใจอยู่เงียบ ๆ ในการฟื้นฟูฐานะหนี้ที่เรียกได้ว่าเป็นหนี้เสียแล้ว
ให้กลับคืนมาเป็นหนี้ที่สามารถเดินบัญชีได้ตามปกติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
มือขวาของเจริญในแบงก์มหานคร
เจริญ สิริวัฒนภักดี เป็นคนใจกว้างต่อคนทั่วไป ที่สำคัญเขาเป็นคนมีสปิริตอย่างสูงต่อญาติในครอบครัวเอามากๆ เจริญยิ่งใหญ่ขนาดไหนในวงการค้าที่ดิจและธุรกิจอุตสาหกรรมสุราในเมืองไทยเป็นที่รู้ก้นได้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
ปรีชา ทิวะหุต NEW BREED ของแบงก์มหานคร
ปรีชา ทิวะหุต นอกจากจะเป็นผู้บริหารระดับกลาง
ยังเป็นนักเขียนอีกด้วย มีงานเขียนมากมายหลายชิ้นตั้งแต่เรื่องเศรษฐกิจระดับโลกจนถึงแง่มุมทางจิตวิทยา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
บางระจันของนันทาภิวัฒน์
"ผู้จัดการ" ได้ติดตามข่าวคราวของธนาคารแหลมทองมานาน ตั้งแต่ยังไม่เกิดเรื่องเกิดราวขึ้นมา
การติดตามของ "ผู้จัดการ" นั้นอยู่ในประเด็นที่ว่าธนาคารแห่งนี้ บริหารงานกันในรูปแบบใด
ถึงได้ขยับจากอันดับที่ 15 ลงไปเป็นอันดับที่ 16 ได้ หรือพูดง่ายๆ เคยอยู่รองโหล่ทำไปทำมาอยู่อันดับโหล่สุดได้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2527)