ณรงค์ สีตสุวรรณ กับโจทย์ข้อใหญ่ใน RATCH
ณรงค์ สีตสุวรรณ เข้ารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ RATCH ท่ามกลางนโยบายที่ยังไม่ชัดเจนว่าบทบาทในการขยายกำลังการผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ในอนาคตจะตกอยู่กับองค์กรใด หลังจากแผนการนำ กฟผ.เข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นถูกศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้เป็นโมฆะ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)
RATCH เปลี่ยนตัวผู้นำแต่นโยบายคงเดิม
หลังบุญชู ดิเรกสถาพร มือการเงินจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ถูกส่งตัวให้เข้ามานั่งเป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) หรือ RATCH จนครบวาระ 6 ปี และสิ้นสุดหน้าที่สำคัญๆ ของเขาใน RATCH หลายๆ อย่าง ก็ถึงเวลาที่ต้องมีผู้นำองค์กรคนใหม่เข้ามารับหน้าที่แทนเขาได้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2549)
We work to gether as a team
ภายใต้ร่มธงของคำว่า Universal Banking บล. และบลจ.ไทยพาณิชย์ มิใช่เป็นเพียงบริษัทลูกของธนาคารไทยพาณิชย์
แต่เป็นเสมือน Strategic Arms ที่จะทำธุรกิจสอดประสานกันไป
โดยมีความพึงพอใจของลูกค้าเป็นเป้าหมายเช่นเดียวกับบริษัทแม่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
ภาวะกระทิง อานิสงส์ดอลลาร์อ่อน
ค่าเงินดอลลาร์อ่อน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเริ่มคึกคักอีกครั้ง
และตลาดหุ้นเป็นเป้าหมายลำดับต้นๆ สำหรับการแสวงหาผลตอบแทน
ชดเชยความสูญเสียจากความไม่ไว้วางใจค่าเงินดอลลาร์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
โรงไฟฟ้าราชบุรี ข้อต่อสำคัญการแปรรูป
รายงานบทสรุปกระบวนการแปรรูปโรงไฟฟ้าราชบุรี ภายหลังแผนการระดมทุนประสบความสำเร็จ สามารถจำหน่ายหุ้น IPO เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2543 ได้หมดภายในเวลาเพียง 17 นาที
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
บุญชู ดิเรกสถาพร คีย์แมนแห่ง RATCH
ข้อมูลบุคคล บุญชู ดิเรกสถาพร ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและการเงินในธุรกิจไฟฟ้าของประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
แปรรูปโรงไฟฟ้าราชบุรี ดีลเงินกู้ร่วมที่ใหญ่ที่สุดในรอบ 3 ปี
21 สิงหาคม 2543 สถาบันการเงินขนาด ใหญ่ 8 แห่งของไทย ก็ได้มีกิจกรรมที่สวนทางกับความเป็นห่วงของสถาบันจัดอันดับเครดิตทั้งหลาย โดยได้จัดพิธีลงนามในสัญญารับประกันการจัดหาเงินกู้ (Loan Underwriting Agreement) มูลค่าสูงถึง 44,101 ล้านบาท กับบริษัทผลิตไฟฟ้าราชบุรี จำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)