วิธีรวยของลูเซ่นแยกตัวจาก เอทีแอนด์ที
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องธุรกิจ, การเมืองหรือสงคราม บางครั้งความใหญ่โตเกินไป ก็สร้างปัยหาได้อย่างไม่น่าเชื่อ นี่เป็นเหตุทำให้ เอทีแอนด์ที (ไทยแลนด์) อิ๊งค์ จำต้องแยกตัวออกมาเป็นบริษัทใหม่ชื่อ ลูเซ่น เทคโนโลยีส์ ไทยแลนด์ อิ๊งค์ โดย เอทีแอนด์ที ไม่ได้ถือหุ้นแม้แต่นิดเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
"สัมปทานสมุดโทรศัพท์เดิมพัน 9,000ล้านบาท"
ตลาดสมุดโทรศัพท์มูลค่า 9,000 ล้านบาทจากฐาน 12 ล้านเลขหมาย นับว่าเป็นเดิมพันยิ่งใหญ่ที่ชักชวนให้เอกชนหลายสิบรายต้องกระโจนลงสนามนี้ โดยมีล็อกซเล่ย์ และชินวัตรฯ เป็นคู่แข่งหลักที่สมน้ำ สมเนื้อกันมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"ชาติชาย เย็นบำรุง ผู้พลิกการขาดทุนให้เป็นกำไร"
ในที่สุด "ชาติชาย เย็นบำรุง" ก็ได้ตัดสินใจหันหลังให้กับวงการธุรกิจสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์
ที่เขาคลุกคลีมาเป็นเวลา 5 ปีเต็มชาติชายได้ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งผู้จัดการทั่วไป
ของบริษัท ชินวัตรไดเร็คทอรี่ส์ จำกัดอย่างเป็นทางการแล้วและมีผลบังคับเมื่อวันที่
15 มกราคมที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
แบ่งกันขาย เพื่อสู้ฝัน อีก 1 ล้านเลขหมาย
ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรศัพท์รายใหญ่ของโลกกำลังวิ่งวุ่นเข้าชิงการเป็นซัพพลายเออร์ให้แก่โครงการโทรศัพท์
2 ล้านเลขหมายในเขตนครหลวงของ บริษัท ซีพีเทเลคอมฯ อย่างดุเดือด ซัพพลายเออร์เหล่านี้ต่างเสนอประมูลโทรศัพท์ที่เหลืออีก
1 ล้านเลขหมายจากองค์การโทรศัพท์ฯ ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ข้อต่อชินวัตรกับเอทีแอนด์ที
เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ เพิ่งจะมาร่วมงานกับกลุ่มชินวัตรเมื่อต้นปีนี้ ในตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการของกลุ่ม รับผิดชอบงานด้านการตลาดและการขายอุปกรณ์ด้านโทรคมนาคม เป็นกรรมการผู้จัดการของบริษัทเอที แอนด์ ที ไดเร็คทอรี่ส์ เจ้าของสัมปทานสมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองซึ่งชินวัตรเพิ่งเข้าไปซื้อกิจการมาเมื่อเดือนที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
AT & T ยกสมุดหน้าเหลืองให้ชินวัตรฯ พร้อมเงินสด 370 ล้าน
นับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2543 เป็นต้นไปกิจการจัดพิมพ์สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์
(ไดเร็คทอรี่ส์) จะอยู่ภายใต้การบริหารงานของกลุ่มบริษัทในเครือบริษัทชินวันคอมพิวเตอร์
จำกัด ทั้งนี้เป็นผลจากการเจรจาระหว่าง ดร.ทักษิณ ชินวัตร ประธานกลุ่มบริษัทชินวัตรคอมพิวเตอร์กับทางบริษัท
เอที แอนด์ ที อินเตอร์เนชั่นแนลที่มีตั้งแต่เดือนตุลาคมปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
เอทีแอนด์ที ละครฉากใหญ่ที่ยังจัดไม่เสร็จ
เอทีแอนด์ทีมาเมืองไทยอย่างฟอร์มโต แต่หลายคนสรุปให้เสร็จว่าไปๆ มาๆ ก็
"ตายน้ำตื้น" ทุกวันนี้ เอทีแอนด์ทีเก็บเนื้อเก็บตัวมากขึ้น เหมือนประหนึ่งจะรอบางสิ่งพร้อมสรรพสมบูรณ์เสียก่อน
หรืออาจจะต้องทำตัวเงียบๆ ตลอดไปก็เป็นได้!
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
ใช้เทคนิคใหม่ช่วยหาตัวเด็กที่หายไป
ในสหรัฐอเมริกาปัญหาเด็กหนีออกจากบ้าน หรือหายไปโดยไม่ทราบร่องรอยนับเป็นปัญหาสังคมปัญหาหนึ่งที่มีแนวโน้มว่าจะกลายเป็นปัญหาสำคัญในอนาคตจำนวนคนหายในอเมริกาที่หายไปเป็นเวลานานนับปีนั้นมีอยู่จำนวนไม่น้อยและที่สำคัญในบางกรณีมีโอกาสน้อยมากที่จะได้พบตัวยิ่งสำหรับในกรณีเด็กหายด้วยแล้วเวลายิ่งผ่านไปการตามหาตัวจนพบจะยิ่งยากมากขึ้น เพราะว่าหน้าตา ของเด็กจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ เมื่อโตขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
เบลแล็บ โฉมหน้าใหม่ห้องแล็บสุดยอดของอเมริกา
เบลแลบ ภายหลังต้องเผชิญกับการแยกตัวของเอทีแอนด์ทีมีสภาพเป็นอย่างไรบ้าง ? ปรากฏ ว่าสามารถทำได้ดีอย่างน่าพิศวง งานวิจัยเบื้องต้นกำลังเฟื่องฟู ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้รับการวิจัยเพื่อการประยุกต์และพัฒนาออกมามากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
"สงครามธุรกิจไม่มีพรมแดน บทเรียนราคาแพงของจีทีดีซี"
การล่าถอยของจีทีดีซีในสงครามธุรกิจสมุด "หน้าเหลือง" ได้กลายเป็นบทเรียนอันยิ่งใหญ่ของวิลเลียม
แอนเดอร์สัน เวลาของจีทีดีซีในประเทศไทย 20 ปี เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง-เอทีแอนด์ที
ซึ่งเพิ่งพุ่งหัวหอกเข้ามาเมืองไทยประมาณ 5 ปีที่แล้ว มิได้ช่วยให้พวกเขาได้เปรียบแม้แต่น้อยนิดเชียวหรือ?
แอนเดอร์สันและคนในวงการจะต้องหาคำตอบถึงความพ่ายแพ้ให้ได้!?!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)