จีอี แคปปิตอลกับภูมิภาคเอเชีย
ธรรมชาติการขยายกิจการทางด้านการเงิน
ของบรรษัทข้ามชาติมักเป็นข่าวครึกโครม
แต่การบริหารงานของกลุ่มจีอี แคปปิตอล
กลับวางแผนอย่างเชี่ยวชาญให้ได้มาซึ่งพันธมิตร
ในภูมิภาคเอเชียปราศจากการประชาสัมพันธ์
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
จีอี แคปปิตอล ซื้อ เฮลเลอร์
หลังจากล้มเหลวในการซื้อซิท กรุ๊ป และฟโนว่า กรุ๊ป
เมื่อตอนต้นปีของจีอี แคปปิตอล รางวัลแห่งความสำเร็จก็มาถึงเมื่อซื้อเฮลเลอร์
ไฟแนนเชียลสำเร็จ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
เปลี่ยนผู้ชมเป็นลูกค้า
หลังจากการเริ่มต้น เป็นช่องทางขยายธุรกิจสินเชื่อ ถึงเวลาแล้วที่ thailifestyle.com
จะเข้าสู่อี-คอมเมิร์ซ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
ตะวันขึ้นที่ จีอี แคปปิตอล
การรุกธุรกิจของจีอี แคปปิตอล
ในช่วงที่เอเชียกำลังเกิดวิกฤติ ทำให้ได้รับการขนานนามว่าเป็น King of Crisis และหลังจากเศรษฐกิจกำลังฟื้น
จีอี แคปปิตอลยิ่งแข็งแกร่งขึ้นจากการกล้าลงทุน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
จีอีสยายปีกในไทย
เพียง 2 ปีขนเงินมาลงทุนกว่า 1,000 ล้านเหรียญฯ ชื่อเสียงของกลุ่มจีอีคุ้นหูคนไทย มากในช่วง 2 ปีของวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำ
ครั้งที่รุนแรงที่สุดของไทย แม้นักลงทุนกลุ่มนี้จะเข้ามาลงทุนในประเทศไทยเป็นเวลานานมากแล้ว
แต่ก็เพิ่งจะขยับขยายเพิ่มเม็ดเงินลงทุนมากขึ้นในช่วง 2 ปีที่ผ่านมานี่เอง
โดยเฉพาะการลงทุนในด้านที่เป็นบริการทางการเงิน(financial services)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
เปิดขุมทรัพย์จีอี: 12 ธุรกิจการลงทุนในไทย
วิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศในครั้งนี้ได้เปิดโอกาสให้บริษัทยักษ์ใหญ่ชั้นนำของโลกเข้ามาสร้างธุรกิจแสวงหาผลกำไรกัน
อย่างมโหฬาร
แน่นอนบริษัทต่างชาติย่อมมีข้อได้เปรียบกว่าบริษัทไทยในทุกๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องฐานการเงิน
เทคโนโลยี บุคลากร การเดินทางมาเยือนภูมิภาคเอเชียและแวะประเทศไทยเป็นเวลา
2 วันของมร.จอห์น เอฟ. เวลซ์ แม้เขาจะเดินทางมาภูมิภาคนี้เป็นประจำ แต่ครั้งนี้ต้องถือว่ามีความสำคัญในแง่ที่จีอีได้ปักธงในไทยสำเร็จแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)