พร สิทธิอำนวย เมื่อกิ้งกือหกคะเมน
เมื่อวานนี้ พร สิทธิอำนวย ยังเป็น Tycoon ที่มีกิจการมีทรัพย์สินเป็น พันๆ
ล้าน และเมื่อไม่นานมานี้เมื่อกลุ่มตึกดำของ สุธี นพคุณ มลายหาย จากวงการไป
ทุกคนก็ยังเชื่อว่า พร สิทธิอำนวย อยู่ได้ เพราะฐานเขาแข็ง และหลักเขาดี
(บทความจาก Newcomer. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กุมภาพันธ์ 2545)
PSA
ก่อนจะพูดถึงการเติบโตของพีเอสเอ ผมควรจะพูดถึงตัวพีเอสเอเสียก่อน เพื่อให้คุณผู้อ่านได้มองเห็นภาพที่เด่นชัดมากยิ่งขึ้น บางคนบอกว่า พีเอสเอ (PSA) คือ พอล สุธี และเอด้า (Pual-Suti-Ada) พอล คือ พร สิทธิอำนวย สุธี นพคุณ และเอด้า คือ วนิดา สิทธิอำนวย (เอด้าเป็นชื่อเดิมของวนิดา ซึ่งเป็นคนมาเลเซีย ตอนหลังมาเปลี่ยนชื่อเป็นวนิดา)
(บทความจาก ต้องแพ้เสียก่อนจึงจะชนะได้. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic พฤศจิกายน 2544)
แอ็ดวานซ์มีเดีย
ในช่วงจังหวะที่ผมเข้ามา PSA (กลางปี 2519) นั้น เป็นช่วงของการขยายงานของ
PSA จริงๆ ในขณะนั้น PSA มีธุรกิจหลักจริงๆ ก็คือ สยามเครดิต ซึ่งตั้งอยู่ที่ตึกอื้อจือเหลียง
นอกจากนั้นก็มีเทรดดิ้งคัมปะนี ชื่อ แอ็ดวานซ์โปรดักส์ ซึ่งในเวลานั้นก็เป็นตัวแทนเอเย่นต์สินค้าอยู่หลายตัว
เช่น เครื่องคิดเลขโนวัส (Novus) ฯลฯ
(บทความจาก ต้องแพ้เสียก่อนจึงจะชนะได้. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic พฤศจิกายน 2544)
เมื่อ Business Times เกิด
เมื่อผมมามองย้อนหลังดูเหตุการณ์ครั้งนั้นก็ได้ข้อคิดบางประการที่น่าสังเกต
และทำให้ผมคิดว่า บางครั้งบางอย่างในการทำงานมันก็ไม่ได้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เราวางไว้เช่น
พร สิทธิอำนวย เป็นยอดนักบริหาร เพราะเขาเน้นในเรื่องการบริหารโดยใช้เป้าหมายเป็นหลัก
(บทความจาก ต้องแพ้เสียก่อนจึงจะชนะได้. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic พฤศจิกายน 2544)
"อาหารกล่อง "จิตรมาส"จากร้านอาหารสู่อุตสาหกรรม"
ในอดีต ข้าวแกงรามาของพีเอสเอกรุ๊ป ถือว่าเป็นมิติการลงทุนแบบใหม่ที่สุธี
นพคุณ ได้ริเริ่มขึ้นมา และต้องเจ๊งไปในที่สุดเพราะธุรกิจประเภทนี้มีจุดรั่วไหลมากถ้าควบคุมดูแลกิจการไม่ทั่วถึง
และเงินรายได้ที่มาจากข้าวแกงรามาก็ต้องไปจมกับการซื้อตึกแถวและหล่อเลี้ยงกิจการอื่น
ๆ เช่น ไวเกอร์ เครื่องดื่มเกลือแร่และน้ำพริกรามาแทนที่จะเป็นทุนหมุนเวียนให้กับข้าวแกงรามา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
พร สิทธิอำนวย " เขาตายไปแล้วจากสังคมไทย "
ปัจจุบันธุรกิจในเครือกลุ่ม PSA ถูกศาลสั่งให้ล้มละลายไปแล้ว 3 บริษัทหลักๆของกลุ่มคือ
บริษัทพีเอสเอ, บริษัทควันตั้ม ซิสเต็มส์และบริษัทสยามราษฎร์ รวมทั้งตัว
พร กับ วนิดา สิทธิอำนวย ก็ถูกศาลสั่งไปแล้วทั้งสองคนเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
"BUSSINESS ADVISORY THAILAND ผู้มากับ "ความล้มเหลว"
ชื่อไมเคิล เซลบี้ ดังขึ้นครั้งแรกในห้วงเวลาของความพยายามกอบกู้สถานการณ์ของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
ปฐมสยาม ของกลุ่ม พีเอสเอ.โดยการชักนำเอจีซี (AUSTRALIA GARUNTEE CORPERATION)
เข้ามาเทคโอเวอร์เพื่อแก้วิกฤติการณ์ธุรกิจของกลุ่ม พีเอสเอ. ในเปราะสำคัญเปราะหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2530)
พร สิทธิอำนวย เมื่อกิ้งกือหกคะเมน
เมื่อวานนี้ พร สิทธิอำนวย ยังเป็น Tycoon ที่มีกิจการมีทรัพย์สินเป็นพันๆ
ล้าน และเมื่อไม่นานมานี้เมื่อกลุ่มตึกดำของ สุธี นพคุณ มลายหายจากวงการไป ทุกคนก็ยังเชื่อว่า
พร สิทธิอำนวย อยู่ได้ เพราะฐานเขาแข็งและหลักเขาดี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
"ต้องแพ้เสียก่อนถึงจะชนะได้" เมฆทะมึนก่อน PSA แตกแยก
พรพยายามจะหว่านล้อมผมต่างๆ นานาให้หาทางทำตามที่เขาต้องการ อาจจะเป็นเพราะว่าผมยังหนุ่มไฟแรงเกินไป
ที่จะเข้าใจวิธีการหลีกเลี่ยงความขัดแย้งโดยสันติ ผมก็เลยคัดค้านอย่างหัวชนฝา
และประกาศว่าถ้าใครจะทำก็ทำ แต่ผมขอไม่แตะต้องการให้คนออกในวิธีนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2528)