6 ข้อผิดพลาด บริหารรามาทาวเวอร์
บริษัทรามาทาวเวอร์ถือว่าเป็นตัวอย่างปัญหาความล้มเหลวของบริษัทมหาชนรุ่นใหม่บริษัทแรกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
หลังจากเข้า จดทะเบียนในปี 2518 เพียง 3 ปีตั้งแต่ปี 2521-2523 หุ้นรามา(RAMA)
ถือว่าเป็นหุ้นโดดเด่นที่ปันผลกำไรได้ถึงหุ้นละ 5 บาท
(บทความจาก อ่านวิกฤตเพื่อโอกาสใหม่. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic ตุลาคม 2544)
"โรงแรมรามาการ์เดนส์ ขายออกแล้ว"
โรงแรมรามาการ์เดนส์เป็นกิจการของบริษัทรามาทาวเวอร์ที่เคยเป็นอาณาจักรของสุธี
นพคุณ ภายหลังการล่มสลายของบริษัทพัฒนาเงินทุน ฐานการเงินสำคัญของสุธี ในปี
2522 รามาทาวเวอร์ก็อยู่ในความดูแลของเจ้าหนี้รายใหญ่คือธนาคารกรุงไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
เราควรจะมีคนอย่าง 3 สุนี้มากๆ
เรื่องนี้เป็นข้อคิดเห็นจาก "ผู้จัดการ" ที่เราพยายามมองกรณีของ สุธี นพคุณ
สุพจน์ เดชสกุลธร และสุระ จันทร์ศรีชวาลา ให้เป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมของสังคมธุรกิจเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
สุระ จันทร์ศรีชวาลา MEET THE PRESS
ในเดือนธันวาคม 2526 "ผู้จัดการ" ได้เคยเอาเรื่อง สุระ จันทร์ศรีชวาลา
ขึ้นปก และในเนื้อหาของเรื่องนั้นก็เป็นเรื่องราวความเป็นมา ซึ่งในที่สุดเมื่อวันที่
30 มีนาคม 2527 สุระ จันทร์ศรีชวาลา ก็ได้ให้สัมภาษณ์ครั้งแรกแบบมาราธอน
นาน 3 ชั่วโมง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
ตอนนี้ทุกโรงแรมยังข้าวใหม่ปลามันกันอยู่
ในบรรดาโรงแรมใหม่ 4 แห่ง ที่กำลังเริ่มดำเนินกิจการนั้น ต่างก็อยู่ในเครือบริหารที่มีชื่อเสียงโด่งดังทั้งสิ้น แต่ละเครือก็มีชื่อเสียงไปคนละแบบคนละอย่าง เช่น ไฮแอทและฮิลตันชำนาญด้านตลาดมาก ซึ่งขอบข่ายของไฮแอทและฮิลตันเป็นขอบข่ายระดับโลก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2526)
6 ข้อผิดพลาด ในการบริหารรามาทาวเวอร์
ว่ากันว่า นักบริหารฝีมือขนาดไหนก็ตาม ในที่สุดแล้วก็ต้องวัดกันที่ผลกำไร ที่ปันให้กับผู้ถือหุ้น ถ้าเป็นบริษัททั่วไปที่ไม่ได้เป็นบริษัทมหาชน ก็คงจะต้องนั่งคุย กันในหมู่คนไม่กี่คน ถ้ามีเงินปันผลก็คงจะนั่งยิ่มกันแก้มปริ พยายามบอกข่าวเล่าให้เพื่อนฝูงฟัง บางรายอดรนทนไม่ไหว ก็ถึงต้องส่งข่าวให้หนังสือพิมพ์ลง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2526)