จุฬาไฮเทคหยุดการก่อสร้างรอผู้ชี้ชะตาใหม่
หลังจากสำนักงานทรัพย์สินจุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ได้พิถีพิถันกับการคัดเลือกผู้มาดำเนินการโครงการจุฬาไฮเทค
สแควร์ ซึ่งเป็นโครงการนำร่องการจัดผลประโยชน์จากที่ดินของจุฬามานานหลายปี
จนพูดได้ว่าผ่านยุคทองไปอย่างน่าเสียดาย แต่ในที่สุดก็ได้บริษัทสยามเทคโนซิตี้
เป็นผู้ก่อสร้างและได้เปิดตัวบริษัทบริหารการขาย คือบริษัทเชสเตอร์ตันไทย
และบริษัทไทยชิมิสึเป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง อย่างเป็นทางการเมื่อต้นปี 2539
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
"จุฬาลิเนท ห้องสมุดอิเลคทรอนิคส์ แห่งแรกในประเทศไทย"
และแล้วจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ประสบความสำเร็จในการเชื่อมโยงข้อมูลที่กระจัดการจายตามห้องสมุดคณะ
หรือสถาบันวิจัยต่างๆ รวมกว่า 20 แห่ง หลังจากใช้เวลาดำเนินการมากว่า 5 ปีที่ผ่านมา
ภายใต้โครงการที่ชื่อ "จุฬาลิเนท (CHULALINET)"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
จีบ้า (GRADUATED INSTITUTE OF BUSINESS ADMINISTRATION)
บนชั้นห้าของโรงแรมสากลเก่าซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นสถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ ซึ่งเป็นโครงการร่วมของจุฬากับมหาวิทยาลัยต่างประเทศสองแห่งคือ J.L. KELLOGG CRADUATE SCHOOL OF MANAGEMENT OF NORTH WESTERN UNIVERSITY กับ THE WHARTON SCHOOL OF THE UNIVERSITY OF PENNSYLVANIA
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)