Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ11  
Positioning1  
ผู้จัดการรายวัน8  
PR News3  
Total 23  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล, บมจ.


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 11 items)
ศึกจัสมิน-เคเอสซี happy ending คดีทางธุรกิจระหว่างจัสมิน และเคเอสซี ในกรณีการขายหุ้นของ IKSC ให้กับเอ็มเว็บ จบลงด้วยดีจากการประสานประโยชน์ร่วมกัน และน่าติดตามต่อไปว่าทุกฝ่ายจะประสานธุรกิจร่วมกันต่อไปอย่างไร(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
ทำไมต้องมี Venture capital ธุรกิจของ venture capital เป็นกลไกสำคัญที่ขาดไม่ได้ในโลกของธุรกิจอินเตอร์เน็ต เพราะถึงแม้มีไอเดีย แต่ขาดเงินทุนก็ย่อมเป็นไปไม่ได้ และส่วนใหญ่ในโลกของบริษัทดอทคอมมักจะเป็นเพียงนักศึกษา หรือโปรแกรมเมอร์ หรือกลุ่มคนไม่กี่คนทำธุรกิจไอเดีย มีสมองดี แต่ขาดเงินทุนที่จะมาทำให้ความฝันเป็นจริงขึ้นมาได้(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
เอ็มเว็บ นักซื้อกิจการ ภายหลังการซื้อ sanook.com เมื่อกลางปี 2542 ได้เพียงไม่นาน เอ็มเว็บก็สามารถสร้างภาพสายสัมพันธ์ และวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันกับบุคลากรท้องถิ่นได้อย่างแนบแน่น ควบคู่ไปกับการซื้อเว็บไซต์หลายต่อหลายแห่ง และการรุกเข้าสู่ธุรกิจไอเอสพี ความเคลื่อนไหวเหล่านี้เป็นเพียงจิ๊กซอว์บางส่วนของภาพใหญ่ ที่มีปลายทางที่ตลาดหุ้นแนสแดค(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
จัสมิน เงื่อนปมที่แก้ไม่ออก ข้อมูลปมปัญหาความขัดแย้ง กรณีการขายกิจการเคเอสซีให้กับเอ็มเว็บของ ศรีศักดิ์ จามรมาน และกนกวรรณ ว่องวัฒนะสินกับฝ่ายจัสมิน(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
เคเอสซี+เอ็มเว็บ สูตรสำเร็จที่ยังไม่ลงตัว ธุรกิจอินเตอร์เน็ตเวลานี้ไม่เหมือนกับ 5 ปีที่แล้ว การแข่งขันราคาที่รุนแรงจากผู้ให้บริการที่เพิ่มจำนวน และนี่เองที่ทำให้เคเอสซีและไอเอสพีทุกรายต้องปรับยุทธศาสตร์ การที่เอ็มเว็บเข้ามาซื้อหุ้นในเคเอสซี จึงเป็นยุทธศาสตร์ที่ลงตัวเอามาก ๆ(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
ยูคอม-จัสมิน ธุรกิจมีขึ้นย่อมมีลง! บุญชัย เบญจรงคกุล และอดิศัย โพธารามิก แม้จะทำธุรกิจโทรคมนาคมเหมือนกัน แต่ก็จัดอยู่ในบริการสื่อสารคนละประเภท ยูคอมของบุญชัยนั้นโตมาจากโทรศัพท์มือถือ ซึ่งเป็นบริการเสริม ในขณะที่จัสมินของอดิศัยมีรากฐานมาจากบริการโทรคมนาคมขั้นพื้นฐาน(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
"อดิศัย โพธารามิก ถึงเวลาต้องกลับสู่จุดเริ่มต้น" อดิศัย โพธารามิกได้ชื่อว่ามีความพร้อมในยุทธภูมิธุรกิจสื่อสารมากที่สุดผู้หนึ่ง ความเป็นดีลเมกเกอร์ชั้นเยี่ยม คือที่มาของโครงการโทรศัพท์ต่างจังหวัด 1.5 ล้านเลขหมายและทำให้จัสมินโตแบบก้าวกระโดดกลายเป็นหนึ่งในบิ๊กสื่อสาร แต่แล้วผลงานชิ้นโบแดงในอดีตกำลังกลายเป็นยาขม การลงทุนที่มีอย่างต่อเนื่องทำให้อดิศัยตัดสินใจกลับสู่ยุทธศาสตร์เดิม เพื่อเดิมพันอนาคตอีกครั้ง(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
"ธุรกิจต่างแดนบทเรียนราคาแพง" 3-4 ปีที่แล้ว ตลาดโทรคมนาคมประเทศเพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียง มีโอกาสต้องรับบรรดาทุนสื่อสารของไทยที่ขนทัพไปลงทุนกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง ทั้งกลุ่มชินวัตร ยูคอม เทเลคอมเอเซีย สามารถ กลุ่มจัสมิน และกลุ่มล็อกซเล่ย์(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
4 กลุ่มใหญ่ต้นกำเนิด TT&Tจัสมิน & ล็อกซเล่ย์ ใครใหญ่จริง หลังจากรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีนโยบายให้หั่นโครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมายที่กลุ่มซีพีเป็นผู้ประมูลได้ให้เหลือเพียง 2 ล้านเลขหมาย และให้ทำเฉพาะในเขตกรุงเทพ ส่วนเหลืออีก 1 ล้านเลขหมายให้เปิดประมูลใหม่และให้ขยายในต่างจังหวัด ซึ่งกลุ่มล็อกซเล่ย์ จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล ภัทรธนกิจ อิตาเลี่ยนไทย และกลุ่มเอ็นทีทีเป็นผู้คว้าชัยชนะไปในครั้งนั้น(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)
จัสมินรับเนื้อ ๆ ผลประโยชน์โตตามเงา TT&T หลายคนเคยตั้งคำถามว่า ใครจะได้ประโยชน์สูงสุดจากโครงการโทรศัพท์ 1 ล้านเลขมายระหว่างผู้ถือหุ้นทั้งหมดนี้ แน่นอนว่าผู้ถือหุ้นทุกรายได้จะผลประโยชน์ในด้านรายได้จากส่วนแบ่ง ของการเป็นเจ้าของเครือข่ายโทรศัพท์หลังจากแบ่งผลประโยชน์ตอบแทนให้กับ ทศท. แล้ว รวมถึงธุรกิจบริการเสริมที่จะเกิดขึ้นจากโครงการโทรศัพท์(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us