Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ19  
ผู้จัดการรายวัน33  
Web Sites1  
Total 53  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารดีบีเอสไทยทนุ


นิตยสารผู้จัดการ (11 - 19 of 19 items)
ดีบีเอสไทยทนุ การปรับเปลี่ยนที่แท้จริงเพิ่งเริ่มต้น การเปลี่ยนแปลงในธนาคารดีบีเอสไทยทนุกำลังเริ่มปรากฏภาพชัดขึ้น หลังจากดีบีเอส สิงคโปร์ ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ และครองอำนาจการบริหารมาเป็นเวลา 2 ปี(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
สุรเกีรยติ วงศ์วาสิน "ดีบีเอสไทยทนุ จะเป็น special bank" 12 เดือนที่สุรเกียรติ วงศ์วาสิน เข้ามาทำงานในธนาคาร ดีบี เอส ไทยทนุ ขณะนี้เขากำลังถูกทดสอบความสามารถจากผู้ถือหุ้นใหญ่รายใหม่ แต่หน้าเก่า อย่างธนาคารดีบีเอส แห่งสิงคโปร์ (Development Bank of Singapore) (นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ ยังต้องปรับตัวอีกมาก ยังต้องปรับตัวอีกมากปีเต็มที่ธนาคารนี้เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ด้วยการเข้ามาของธนาคารดีบีเอสแห่งสิงคโปร์ ถือเป็นการแก้ปัญหาท่ามกลางวิกฤตธนาคารแห่งแรก จนถึงวันนี้ธนาคารใหม่แห่งนี้ดูเหมือนจะดำเนินภายใต้โครงร่าง เดิมของไทยทนุที่ดำเนินไปอย่างเชื่องช้าเกือบๆ 50 ปีที่ผ่านมา (นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
พรสนอง ตู้จินดา "ทายาท" ธนาคารไทยคนสุดท้าย? เมื่อครั้งที่พรสนอง ตู้จินดา เข้ารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ธนาคารไทยทนุ (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นดีบีเอส ไทยทนุ) เมื่อปี 2536 เขามีอายุเพียง 32 ปี นับว่าเป็นผู้บริหารระดับสูงของวงการ ธนาคารพาณิชย์ที่มีอายุน้อยที่สุดในขณะนั้น ซึ่งไม่ว่าจะมองมุมไหน เขาคือผู้บริหารมาจากทายาท ภายใต้โครงสร้างความคิดธุรกิจครอบครัว ซึ่งฝังรากลึกในระบบธนาคารไทยด้วย (นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ดีบีเอส รุกขยายกิจการ ในยามที่เศรษฐกิจทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ จนเป็นเหตุให้สถาบันการเงินจำนวนมากในภูมิภาคนี้ ประสบชะตากรรมล้มหายตายจากไปเป็นจำนวนมากนั้น แต่ก็มีสถาบันการเงินที่มีความเข้มแข็งพอและสามารถปรับตัวรับสถานการณ์นี้ได้ โดยปรับเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาส ฉวยจังหวะนี้ทำตนเป็นนักลงทุนซื้อกิจการสถาบันการเงินที่มีปัญหาเพื่อใช้เป็นฐาน ขยายตัวในระดับภูมิภาคอย่างแท้จริง(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
จุดจบแบงเกอร์ไทย โฉมใหม่อุตสาหกรรมธนาคาร 14 สิงหาคม เป็นวันที่หลายคนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ แม้จะมีข้าวแพลมออกมาเป็นระยะๆ เกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง และแนวทางการดำเนินการธนาคาร 4 แห่ง ที่รัฐบาลประกาศเข้ายึดอำนาจการบริหารและการถือหุ้นเมื่อ 23 ม.ค. (ธ.ศรีนคร) และ 6 ก.พ. 2541 (ธ.นครหลวงไทย, ธ.มหานคร และ ธ.กรุงเทพฯ พาณิชย์การ) แต่ปฏิบัติการจริงๆ เริ่มได้หลังเจรจาปรึกษากับเจ้าที่ไอเอ็มเอฟและเอดีบี - เจ้าของเงินกู้รายใหญ่ของประเทศไทยตอนนี้(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)
"TDB+FIN1 ต้องอย่างนี้จึงจะรอด?" การรวมกิจการระหว่างธนาคารไทยทนุ (TDB) และบริษัทเงินทุน เอกธนกิจ (Fin1) เพื่อเกิดเป็นธนาคารไทยทนุ ในสูตรการ MERGE แบบ A+B=C ที่มีฐานสินทรัพย์เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจากเดิม 119,598 ล้านบาท เพิ่มเป็นขนาด 190,000 ล้านบาทนั้น ถือเป็นก้าวการเติบโตที่สำคัญที่สุดของธนาคารที่มีอายุครบ 48 ปีเต็มในเดือนเมษายนนี้ ดีลนี้ต้องถือว่า TDB รับประโยชน์ไปเนื้อ ๆ เพราะดีลเกิดในจังหวะที่ดี เงื่อนไขอย่างด ี และมีข้อต่อรองที่ดี(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
TDB - FIN1 - PHATRA - NPAT ร่วมอันเดอร์ไรต์หุ้นกู้ ธ.ไทยทนุ ส่งท้ายปีเก่าด้วยการจับมือ FIN1 และ 2 สถาบันใหญ่รับเป็นที่ปรึกษาทางการเงินให้กับ MCC ในการจัดโครงสร้างหุ้นกู้ 3,500 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็น 3 TRANCHES และ TRANCHE แรกเสร็จสมบูรณ์แล้ว ด้วยการออกในรูปของหุ้นกู้ด้อยสิทธิจำนวน 500 ล้านบาท อายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 3 เดือนสูงสุดของไทยทนุ บวก 1.25% ใน 5 ปีแรกและบวก 2.50% ใน 5 ปีหลัง(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
"หนทางใหม่ ๆ ของไทยทนุ" เรื่องการใช้เครื่องมือใหม่ ๆ ในการระดมเงินออมกำลังเป็นที่สนใจของแบงก์พาณิชย์ หลายแห่งกำลังพูดถึงการออกตราสารชนิดใหม่ชื่อย่อว่า NCD ไม่ว่าจะเป็นแบงก์กสิกรไทย ทหารไทย ซึ่งเป็นแบงก์ขนาดใหญ่และกลาง แต่ไม่มีแบงก์เล็กแห่งไหนเลยที่ออกมาพูดถึงเรื่องนี้ยกเว้นแบงก์ไทยทนุที่กล้าบอกกับใคร ๆ ว่าพร้อมแล้ว 100% และดูเหมือนว่าความพร้อมของแบงก์เล็กแห่งนี้อาจจะพร้อมมากกว่าแบงก์ใหญ่บางแห่งเสียด้วย(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us