มอเตอร์ไซค์ "คาจิวา" ขอกลับมาเกิดในไทยอีกครั้ง
การฟื้นตัวของตลาดรถจักรยานยนต์ ในปีที่แล้ว ซึ่งมีการคาดการณ์ถึงยอดขายตลอดทั้งปีว่าจะสูงถึง 800,000 คัน ส่งผลให้ค่ายรถจากยุโรป ได้เริ่มให้ความสนใจจะขอเข้ามาร่วม แย่งตลาดในประเทศไทยด้วย แนวโน้มตัวผู้เล่นในตลาดในปีนี้ จึงมีเพิ่มมากขึ้น จากเดิม ที่มีผู้ครองตลาดหลักอยู่เพียง 4 รายที่เป็นค่ายรถจากญี่ปุ่นล้วนๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
ไทยยามาฮ่า ชื่อใหม่ของสยามยามาฮ่า
ชื่อของสยามยามาฮ่าถูกเปลี่ยนเป็นไทยยามาฮ่า หลังจากที่การปรับโครงสร้างหนี้ และการเปลี่ยนแปลง สัดส่วนผู้ถือหุ้นในบริษัทสยามยามาฮ่า เสร็จสิ้นลงเมื่อไม่นานมานี้ เพื่อลบภาพเก่าเมื่อครั้งอดีต และเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
กฤษณ์ ณรงค์เดชเด็กหนุ่มกับจินตนาการและอำนาจ
ความเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเคพีเอ็น เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แน่นอนว่า
บางครั้งต้องยอมสูญเสียส่วนน้อยเพื่อรักษาส่วนใหญ่ สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นการหาทางออกเพื่ออยู่รอด
หรือสนองวิสัยทัศน์ของคนรุ่นใหม่ สิ่งเหล่านี้ถูกต้อง ถูกกาลเวลาแค่ไหนต้องรอเวลาพิสูจน์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
"KPN VISION 2000 งานประกาศอิสรภาพของ เกษม ณรงค์เดช"
การจัดงานเมื่อค่ำคืนที่ 5 ตุลาคม ณ โรงแรมดุสิตธานี โดยกลุ่มเคพีเอ็น มีเพียงวัตถุประสงค์เดียว เพื่อการเปิดภาพของอาณาจักรเคพีเอ็นออกสู่สายตาของสังคมรอบข้าง ประหนึ่งว่าพร้อมแล้วที่จะเปิดเผยตัวตน ว่ายิ่งใหญ่เพียงไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
เคพีเอ็นจับมือมูรายามา ความบังเอิญที่ 'เกษม ณรงค์เดช' ตั้งใจ
พิธีลงนามในสัญญาร่วมทุน ระหว่างกลุ่มเคพีเอ็น, บริษัท มูรายามา แห่งประเทศญี่ปุ่น,
บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่นแห่งประเทศญี่ปุ่น และบริษัท ซูมิ-ไทย อินเตอร์เนชั่นแนล
จำกัด เมื่อกลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เพื่อร่วมลงทุนในบริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล
ฟอร์จจิ้ง จำกัด(ไอเอฟซี) มีความหมายเป็นอย่างยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2538)
สยามยามาฮ่าจบแบบพี่น้อง ไม่เสียหายแต่ "เสียความรู้สึก"
ข่าวการประนีประนอมกันระหว่างกลุ่มเคพีเอ็นของเกษมและคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช กับพรเทพ พรประภา ผู้บริหารของสยามกลการในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่สยามยามาฮ่าเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2538 ซึ่งมีนายชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ผลลัพธ์ก็คือ กลุ่มเคพีเอ็นยอมตกลงซื้อหุ้นในบริษัท สยามยามาฮ่า จำนวน 67.78% จากสยามกลการ และ 16.09% จากดร.ถาวร พรประภา ในราคาร1,217 ล้านบาท และ 289 ล้านบาท ตามลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ยามาฮ่าในเงื้อมมือคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช
การตัดสินใจของ "ยามาฮ่า" ประเทศญี่ปุ่น ในการจับมือเป็นพันธมิตรกับกลุ่มเคพีเอ็นของเกษม
และคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช ถือเป็นเรื่องรวดเร็ว และเกินคาดหมาย อีกทั้งยังเป็นช่วง
"ร้อนระอุ" ของสงครามระหว่างสองพี่น้อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)