ปฏิรูปรถเมล์ ปฏิบัติการท่าดีทีเหลว
19 ขวบปีที่เกิดองค์กรเช่น ขสมก.ขึ้นมา เพื่อเป็นระบบขนส่งมวลชนของคนจนที่ดีที่สุดเท่าที่จะพอหาได้ในปัจจุบัน การปรับเปลี่ยนให้ องค์กรหลุดพ้นจากภาวะขาดทุนมหาศาล มีการกระทำมานับครั้งไม่ถ้วน รวมถึงการปฏิรูปรถเมล์ ที่เชื่อกันว่า จะช่วยแก้ไขปัญหาจราจรและลดภาระขาดทุนของขสมก.ได้อย่างชงัดนัก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
Fleet View ถึงรถจะเก่าแต่เทคโนโลยีล้ำยุค
เหตุที่ขสมก.ต้องแบกรับภาระขาดทุนอันหนักอึ้งในทุนวันนี้นั้น นอกจากการบริหารงานที่ไร้ทิศทางแน่นอน การขาดวิธีควบคุมเม็ดเงินที่รั่วไหลขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว การขาดแนวทางควบคุมการเดินรถให้ใช้รถได้อย่างคุ้มค่าที่สุด ก็เป็นข้อสำคัญที่ทำให้ขสมก.ต้องมีสภาพเช่นนี้ ด้วยตระหนักถึงเรื่องดังกล่าว ในสมัยของผอ.ขสมก.คนปัจจุบันจึงได้มีความพยายามแสวงหาเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาอุดข้อบกพร่องในส่วนนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
ปลดหนี้ ขสมก. - ต่อลมหายใจ ปตท.
ภายใต้ภาพที่ดูเหมือนยิ่งใหญ่และมั่นคงของ ปตท.นั้นกลับมีปัญหาการบริหารเงินสดจน
ศิรินทร์ นิมมานเหมินท์ ต้องเปิดเครดิตไลน์เพิ่มขึ้นจาก 4.3 พันล้านบาทเป็น
6.9 พันล้านบาท เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับปัญหาสภาพคล่องทางการเงินที่อาจจะวิกฤตในช่วงต่อไปซึ่งเคยคาดการณ์เอาไว้แล้วตั้งแต่ปี
2533
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
ขสมก. "จอดป้านเถอะคนกรุงเทพฯ จะลง
มีข้อเสนอแนะทางแก้ไขปัญหาที่เน้นการปรับปรุงที่ "ฐานรากของขสมก.
จากคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ไม่ต่ำกว่า 20 ชุด ไม่รวมที่ปรึกษารายบุคคลและนักวิชาการอีกมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)