2 งานภายในครึ่งวัน
หลังจากในช่วงต้นปีได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับสูงของธนาคารกสิกรไทย โดยบัณฑูร ล่ำซำ เลื่อนขึ้นไปเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แล้วให้ประสาร ไตรรัตน์วรกุล เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการแทนแล้ว ดูเหมือนผู้บริหารทุกระดับของธนาคารแห่งนี้จะทวีความคึกคักขึ้นอย่างทันตาเห็น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
"น้ำประปา ความเหลื่อมล้ำของคนเมือง"
น้ำประปากำลังจะเป็นปัญหาใหญ่ของคนเมืองหลวง เมื่อปริมาณความต้องการใช้มีมากเกินกว่าที่กำลังการผลิตของการประปานครหลวงจะไล่ได้ทันคนอยู่ปลายท่อที่น้ำไปไม่ถึงก็เหมือนประชาชนชั้นสองรองจากคนในเมืองที่ต้องดิ้นรน ขวนขวายหาทางช่วยเหลือตัวเองในทุกๆ รูปแบบ…
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2536)
"อีก 30 ปี คนกรุงเทพฯ นนทบุรีและสมุทรปราการจะมีน้ำใช้พอเพียง"
กปน. วางแผนจัดหาและผลิตน้ำ 8 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวันใน 30 ปีข้างหน้า เพื่อป้อนความต้องการของคนกรุงเทพฯ
นนทบุรีและสมุทรปราการ ซึ่งคาดว่าจะเพิ่มเป็น 15.5 ล้านคน แต่ก่อนถึงวันนั้น
คน 3 จังหวัดที่ว่า อาจต้องเผชิญปัญหาน้ำขาดแคลนอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
อะแมนคอลล์ อาทิตย์ อุไรรัตน์ แบบฉบับนักบริหารธุรกิจการเมือง
การกล่าวถึง ดร. อาทิตย์ อุไรรัตน์ ผู้ซึ่งกลายเป็นอดีตผู้ว่าการการประปานครหลวงไปแล้วในห้วงเวลานี้ถือได้ว่าถูกจังหวะมาก
เขาได้ชื่อว่าเป็น "มือผ่าตัด" โรคเรื้อรังของรัฐวิสาหกิจ แก้ปัญหาการขาดทุนมโหฬาร
การบริการไม่เอาไหน ฯลฯ ได้อย่างน่าทึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
ปัจฉิมกถา ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ (26 มกราคม 2530)
สวัสดีครับพี่น้องสื่อมวลชนที่รักและพี่น้องการประปาที่รักทุกท่าน ผมมีความจำเป็นที่จะต้องชี้แจงเหตุการณ์ต่าง
ๆ ที่เป็นมาในการประปานครหลวงในช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาเราคงจะได้รับทราบเหตุการณ์ต่าง
ๆ มาเป็นลำดับแล้ว มีข่าวที่ครึกโครมรายงานในหน้าหนังสือพิมพ์และสื่อมวลชนอื่น
ๆ ตลอดมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
การลาออกของอาทิตย์บอกอะไรบ้าง
-26 มกราคม 2530 อาทิตย์ อุไรรัตน์ ประกาศลาออกด้วยเหตุผลหลักคือ ไม่สามารถทำงานต่อไปได้ภายใต้แรงกดดันทางการเมือง
(เหตุผลโดยละเอียดดูในปัจฉิมกถาของ ดร. อาทิตย์) ท่ามกลางความอาลัยรักไม่อยากให้เขาจากไปของคนประปา
สหภาพแรงงานเคลื่อนโจมตีนักการเมืองพรรคชาติไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)