เหล้าเก่าในขวดใหม่
ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จำนวนมากต้องประสบปัญหาเรื่องเงินลงทุน
โครงการจำนวนมากต้องหยุดชะงัก ประตูน้ำเซ็นเตอร์ โดยรัตนการเคหะ ก็เป็นหนึ่งในโครงการเหล่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
ซีวิลฯโบ๊เบ๊ช่วยอาร์.อาร์.ก่อนถูกน็อก
ในที่สุดโครงประตูน้ำคอมเพล็กซ์ของบริษัทรัตนะการเคหะ จำกัด (มหาชน) ก็มีอัศวินม้าขาวเข้ามาช่วยไว้ได้อีกครั้งหลังจากที่มีข่าวร้ายสุดๆ
ส่งท้ายปีเก่า เพราะถูกบริษัทโซซิเอเต้ อองซิลิเยร์ คองเตอร์ ปรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการประตูน้ำคอมเพล็กซ์ ฟ้องล้มละลาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
"เจ้าพ่อโรงเจ ผู้พิชิต ไวท์ ชัยพยุงพันธ์"
ในบรรดานักเจรจาต่อรองเพื่อแลกเปลี่ยนและประสานผลประโยชน์ทางธุรกิจของยุคนี้ ต้องนับเอาไว้ท์ ชัยพยุงพันธ์ กรรมการผู้จัดการของบริษัทรัตนการเคหะเป็นหนึ่งในนั้นด้วย โครงการประตูน้ำคอมเพล็กซ์หรือในชื่อเดิมว่า สินธรสแควร์ที่เดินหน้าได้อย่างราบรื่นในขณะนี้ก็เป็นเพราะฝีมือของหนุ่มใหญ่วัย 47 ปี เจ้าของบุคลิกนิ่มนวล อ่อนน้อมถ่อมตนผู้นี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
"รัตนการเคหะ การกลับมาอีกครั้งของ ดร. ไวท์"
ภาพพจน์ของรัตนเคหะหรืออาร์ อาร์ วันนี้ต่ำกว่าศูนย์มีหนี้สินที่ต้องชำระไม่ต่ำกว่า
500 ล้านบาท ในขณะที่โครงการตรงตลาดเฉลิมโลกซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของ แผนการฟื้นฟู
เพื่อให้ได้มาซึ่งเม็ดเงินไปสูบฉีดโครงการพัฒนาที่ดินอื่น ๆ ให้เดินหน้าต่อไปได้นั้นต้องใช้เงินไม่ต่ำกว่า
1,600 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2536)
"โลโก้ งานเร่งด่วนอีกชิ้นของอาร์ อาร์"
หากจะนับยุคการบริหารงานของอาร์ อาร์ คงแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ยุคแรกคือยุคก่อตั้งโดยไวท์
ชัยพยุงพันธ์ และวีรนนท์ ว่องไพฑูรย์ สามีคุณหญิงพัชรี ด้วยทุนจดทะเบียนเพียง
30 ล้านบาท รูปแบบของโครงการในช่วงแรก ๆ นั้นจะเน้นหนักไปในรูปแบบของบ้านเดี่ยว
ทาวเฮ้าส์และอาคารพาณิชย์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2536)