คิดจะเป็นดีลเลอร์ BMW ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ
การที่บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) ได้ประกาศยกเลิกการต่อสัญญาเป็นตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ของดีลเลอร์ถึง
4 แห่ง ในเวลาเดียวกัน เมื่อต้นเดือนก่อน หากวัดจากมาตรฐานความรู้สึกของ
คนไทย ซึ่งลักษณะของสังคมมีความประนีประนอมสูงแล้ว อาจเห็น เป็นเรื่องใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
ทิศทางของ BMW ไทย ในยุคของคาร์สเท่น แองเกิล
เดือนนี้เป็นเดือนที่คาร์สเท่น แองเกิล มีอายุครบ 1 ปี ในการเข้ามารับตำแหน่งเบอร์
1 ของบีเอ็มดับบลิวในประเทศไทย ที่คุมนโยบายหลักทั้งด้านการตลาดและการผลิต
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ยนตรกิจ บทเรียนการค้าขายกับฝรั่ง
การจะดำรงสถานะความเป็นผู้ค้ารถยนต์จากยุโปรรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยากสำหรับยนตรกิจ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา หลังบีเอ็มดับบลิว ซึ่งค้าขายร่วมกันมานานกว่า 30 ปี ต้องการจะเข้ามาทำตลาดด้วยตัวเอง สิ่งที่ยนตรกิจต้องดิ้นเอาตัวรอด คือ การเฟ้นหาพันธมิตรรายใหม่เข้ามา ซึ่งสุดท้ายก็ลงเอยที่โฟล์กสวาเกน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
ภารกิจแรกของคาร์สเท่น แองเกิลในฐานะประธาน BMW ประเทศไทย
ภารกิจแรกของคาร์สเท่น แองเกิล ที่ปรากฏต่อสาธารณะ หลังจากเข้ารับตำแหน่งประธานบริษัทบีเอ็มดับบลิว(ประเทศไทย) ได้เพียง 2 เดือน คือการแถลงทิศทางของบีเอ็มดับบลิว เนื่องในโอกาสที่เข้ามาทำธุรกิจในประเทศไทยครบ 2 ปีเต็ม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
คาร์สเทน เองเกล นายใหม่ BMW ไทย
BMW AG ได้ประกาศแต่งตั้ง คาร์สเทน เองเกล ประธาน ของ BMW ในเกาหลีใต้เข้าดำรงตำแหน่งประธาน BMW ในประเทศไทย ซึ่งสะท้อนถึงความพยายามในการรุกเข้าสู่ตลาดอาเซียนและยุทธศาสตร์การตลาดของ BMW ต่อภูมิภาคแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
เมื่อ GM-BMW เข้ามาปักหลักผลิตรถยนต์ในไทย
การขนานนามประเทศไทยเป็น "ดีทรอยจ์แห่งเอเชียตะวันออก" นั้น อาจไม่เกินเลยไปนัก
เพราะปัจจุบัน อุตสาหกรรมรถยนต์ขนาดใหญ่ของโลก ทั้งจากซีกยุโรป และสหรัฐอเมริกา
ต่างเข้ามาตั้งฐานการผลิตอยู่ในประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
BMW Press Club บนอินเตอร์เน็ต
WWW.press.bmw.com เป็นเว็บไซต์ของ BMW Group
ที่สร้างสำหรับรวบรวมข้อมูลของ BMW ทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
"When in Thailand, do as the Thais do."
"เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจ
ว่าจะมีการเติบโตต่อไปอย่าง มั่นคงในภูมิภาคนี้ จำเป็นที่จะต้องมีการดำเนินการในเรื่องของเขตการค้าเสรีอาเซียน
หรืออาฟตาให้เรียบร้อย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
เยซุส คอร์โดบา ประกาศเดินหน้า BMW ในไทยต่อ ไม่สนข่าวลือ "แม่ถูกเทกฯ"
1998 บริษัท BMW AG ตัดสินใจเข้ามาร่วมทุนกับกลุ่มบริษัท เทพสตรี เพื่อดูแลธุรกิจรถ
BMW ในทุกด้าน โดยไม่มีแม้เงาของ "ลีนุตพงษ์" ตระกูลที่ทำการตลาดและการผลิตรถ
BMW มาเป็นเวลายาวนานในไทย มาปี 1999 BMW AG ก็เริ่มต้นการเคาะสนิมตลาดรถ
BMW ทั้งประเทศ หลังปล่อย ให้แตกแถวมานาน บริษัทฯ พยายามล้างภาพพจน์ เก่าที่ว่า
: บริการแย่ ราคาแพง มุ่งยอดขาย ไม่เน้น คุณภาพ หันมาเร่งสร้างภาพลักษณ์ใหม่
: เน้น คุณภาพ เน้นบริการ ให้เหมือนกันทั่วโลก ฝั่ง "ลีนุตพงษ์" ซุ่มเงียบ
ไม่ปริปากแม้สักคำ สำหรับพวก เขา "งานนี้หากไม่ดับก็ต้องผงาดให้รุ่งกว่าเดิม"
เพราะ ยังมีสินค้าอีกหลายยี่ห้อที่สูสีกับ BMW อยู่ในมือ!
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2542)
'ยนตรกิจ' เลิกขาย 'บีเอ็ม' ตัวแปรสำคัญคือโฟล์กกรุ๊ป
ความตกต่ำของตลาดรถยนต์เมืองไทยในช่วงกว่า 1 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะตลาดรถยนต์นั่งระดับหรูหรานั้น
ได้สร้างปัญหาให้กับผู้ค้าในตลาดนี้อย่างมากในทุกยี่ห้อ
และดูเหมือนว่า "ยนตรกิจ" กับความเหลวแหลกของบีเอ็มดับบลิวในไทย
ได้กลายเป็นปัญหาที่ดูหนักหนาที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2540)