In the name of Mother
ในชีวิตของผู้หญิงคนหนึ่ง หากสามารถเป็นแม่ที่ดีได้สำเร็จ ก็ถือได้ว่าคนคนนั้นเป็นผู้ยิ่งใหญ่ ชีวิตของ "พรพรรณ ก่อนันทเกียรติ" หรือ "คุณม่อน" มีชีวิตเหมือน Drama
จากกำเนิดเป็นลูกสาวเจ้าสัว ถาวร พรประภา และเป็นภรรยาดำริห์ ก่อนันทเกียรติ
กับแม่ของลูก 4 คน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
จุดตายของยูนิคอร์ด ยุคดำริห์
การสิ้นชีวิตของดำริห์ ก่อนันทเกียรติ คือจุดจบของการเริ่มต้นใหม่ ของบริษัทยูนิคอร์ด
ซึ่งทิ้งไว้เพียงตำนานอันยิ่งใหญ่ของการเทกโอเวอร์ บริษัททูน่ากระป๋องยักษ์ใหญ่อย่างบริษัทบัมเบิ้ล
บี ซีฟู้ดส์ ได้สำเร็จเมื่อปี 2532
ยูนิคอร์ดเป็นหนึ่งในห้าบริษัทที่เข้าร่วมประมูลช่วงชิงความเป็นเจ้าของ บริษัทบัมเบิ้ล
บี โดยพิชิตคู่แข่งยักษ์ใหญ่อย่างมิตซูบิชิจากญี่ปุ่นซึ่งพร้อมกว่าทุกด้าน
ด้วยราคา 269 ล้านเหรียญสหรัฐ
(บทความจาก อ่านวิกฤตเพื่อโอกาสใหม่. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic ตุลาคม 2544)
โอกาสรอด 'ยูนิคอร์ด' เมื่อ ดำริห์ ก่อนันทเกียรติ รับผิดชอบด้วยชีวิต
หลังการตายของดำริห์ หลายคนอาจเข้าใจว่า อนาคตของยูนิคอร์ด ยิ่งดูมืดมนหนักขึ้น
แต่ในทางตรงข้ามน่าจะเป็นการฉุดให้สถานการณ์ที่เข้าตาจนกลับมีหนทางอีกครั้ง
ดำริห์หวังเพียงแค่นี้เพื่อให้ยูนิคอร์ดอาณาจักรที่สร้างมาด้วยมือตนเองยังพอมีทางออกอยู่บ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
วิเชษฐ์ บัณทุวงศ์ ต้องกลับมาสางสิ่งที่ร่วมสร้างไว้
สำหรับวิเชษฐ ถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญคนหนึ่งและมีส่วนในการรับรู้การซื้อบัมเบิ้ลบีฯ ของยูนิคอร์ด มาตั้งแต่ต้น ดำริห์ ดึงวิเชษฐ์มาร่วมงานเมื่อต้นปี 2531 เพือหวังที่จะให้เป็นมือการเงินเพื่อเสริมศักยภาพของตน ซึ่งวิเชษฐ์ ก็ไม้ทำให้ดำริห์ผิดหวัง เพราะสามารถทำให้ยูนิคอร์ดซื้อบัมเบิ้ลบีฯ ได้สำเร็จ โดยแทบที่จะไม่ต้องอกเงินตนเองแม้เต่บาทเดียวเลยในขณะนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
'บัมเบิ้ลบี' เหยื่อที่ผู้ฮุบเจ็บตัว
บริษัท บัมเบิ้ลบี ซีฟู้ดส์ อิงค์ ก่อตั้งโดย 7 นักธุรกิจในวงการอุตสาหกรรมประมงปลาซัลมอน ในปี พ.ศ. 2442 หรือเมื่อ96 ปีที่แล้ว ซึ่งถือเป็นบริษัทเก่าแก่แห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา ในระยะแรก ๆ ของการก่อตั้งบริษัทบัมเบิ้ลบีฯ ทำการผลิตและจำหน่ายปลาซัลมอนกระป๋อง ต่อมาปี พ.ศ. 2453 จึงเริ่มใช้ตราสินค้า " บัมเบิ้ลบี"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
ยูนิคอร์ด กว่าจะถึงปลายทาง
ดำริห์ ก่อนันทเกียรติ ประธานผู้อำนวยการบริหารของยูนิคอร์ดและบัมเบิ้ล
บี เขาเริ่มต้นด้วยการมองเห็นความจำเป็นของการพึ่งตัวเองทางการตลาด แล้วตัดสินใจเดินหน้าด้วยทีมงานมือดี
การวางแผนอย่างรอบคอบและการเลือกที่ถูกต้อง จนความตั้งใจกลายเป็นจริง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2533)
บัมเบิ้ล บี 1+1 2
"ถ้าคำนวณตามมูลค่าการตลาดปัจจุบันจะตกประมาณห้าถึงหกร้อยล้านเหรียญ
ในขณะที่เราจ่ายเงินซื้อมาแค่ 283 ล้านเหรียญเท่านั้น" ดำริห์บอกว่าไม่ว่าราคาบัมเบิ้ล
บี จะเป็นเท่าไรก็ตาม เมื่อเทียบกับสิ่งที่ได้แล้ว เขาคิดว่าคุ้มค่า
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2533)
ศักรพันธ์ มือ M&A ของเชสแบงค์ "การซื้อกิจการจะมีมากขึ้น"
19 กันยายน 2532 เป็นวันที่ ดำริห์ ก่อนันทเกียรติ กรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มยูนิคอร์ด
มีความสุขที่สุดในชีวิตเมื่อโครงการซื้อกิจกรรมบัมเบิ้ลบีจากบริษัทแกรนด์เมท
ในสหรัฐฯได้สำเร็จลงเรียบร้อยในราคา 299 ล้านเหรียญสหรัฐ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2533)
ยูนิคอร์ด
ยูนิคอร์ดเป็นบริษัทผู้ผลิตปลาทุน่ากระป๋องส่งออกซึ่งก่อตั้งขึ้นมาเมื่อ
11 ปีที่แล้ว ภายใต้การบริหารงานของดำริห์ ก่อนันทเกียรติกรรมการผู้จัดการและเป็นหุ้นส่วนใหญ่คนหนึ่ง
กิจการส่งออกปลาทูน่าของยูนิคอร์ดเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว กลายเป็นผู้ส่งปลาทูน่าเข้าไปในสหรัฐอเมริการายใหญ่รายหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)