แก้สัญญา 12 ข้อออกฤทธิ์ เอไอเอสเปิดศึกโทรศัพท์ไร้สาย
แม้ว่าการเดินสู้เส้นทางการเมืองเพื่อปกป้องธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในมือของ
ดร.ทักษิณ ชินวัตรดูจะไร้ผล เพราะตลอดช่วงอายุของรัฐบาลชุดที่แล้ว กลุ่มชินวัตรต้องเป็นฝ่ายนั่งมองดูเทเลคอมเอเชีย
คอร์ปอเรชั่น หรือ ทีเอกอบโกยสัมปทานสื่อสารมาไว้ในมือเป็นจำนวนมากอย่างไม่สามารถทำอะไรได้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
ชินวัตรทิ้ง ไอบีซี
ธุรกิจเคเบิลทีวีที่ใครต่อใครคิดว่าจะทำกำไรมหาศาลให้กับกลุ่มชินวัตรไม่เป็นดังคาดเสียแล้ว
ไตรมาสที่สามของปี ไอบีซีขาดทุน 54 ล้านเพราะความล้มเหลวในลาวและกัมพูชารวมทั้งกรณีดีทีเอช อีกทั้งต้องต้องเผชิญหน้ากับการรุกขนานใหญ่จากยูทีวีในไม่ช้า
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
ความหมายยุคพันธมิตร
ช่วงเดือนที่แล้ว บริษัทแกรมมี่ และกรุงเทพโทรทัศน์ (ช่อง 7 สี) ได้เข้าซื้อหุ้นไอบีซีจากชินวัตรประมาณ18% และจากนอมินิของชินวัตรอีกประมาณ 15% หลังจากบริษัททั้งสองได้เสนอแผนการทำเทนเดอร์ออฟเฟอร์ต่อก.ล.ต.ในอีก 2 เดือนข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ทุนสื่อสาร การเคลื่อนทัพของเงินและอำนาจ
ในช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีมานี้ ทุนสื่อสารได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว แซงหน้ากิจการที่เคยทรงอิทธิพลในอดีตอย่างเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์ อย่างไม่ติดฝุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ทักษิณ ชินวัตร ความหวังในกระแสคลื่นลูกที่สาม ?
สำหรับเมืองไทยเป็นเรื่องธรรมดาที่เหล่านักธุรกิจผู้ยิ่งยงจะมีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะลิ้มลองรสชาติชีวิตนักการเมือง
ซึ่งในด้านหนึ่งนับเป็นนิมิตหมายอันดี ที่ประเทศชาติจะมีผู้ทรงภูมิความรู้เข้ามาบริหาร
แต่ขณะเดียวกันมักหนีไม่พ้นเสียงวิพากษ์เรื่องการยึดถือผลประโยชน์ทางธุรกิจตนเอง
หรือพรรคพวกเป็นเรื่องใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่เข้ามาโดยอุบัติเหตุทางการเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย : ภาคการเมือง
Gerald R. Faul Haleer เป็นบุคคลแรกที่ให้ความรู้กับผมว่าตั้งแต่ Alexander
G.Bell ประดิษฐ์โทรศัพท์เครื่องแรกในโลก นอกจาก Bell จะสูญเสียผลประโยชน์จากกฎหมายสิทธิบัตร
(Patent) ที่คุ้มครองโทรศัพท์ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ของเขาไม่ได้เท่าที่ควรอันสืบเนื่องมาจากความใหม่ของกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเวลานั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ชินวัตร จัสมิน ทีเอ ยูคอม รบในไทยไม่พอต้องไปต่อที่อินเดีย
อินเดีย ดินแดนแห่งอารยธรรมเก่าแก่ของโลก มีพลเมืองมากกว่า 900 ล้านคน
กำลังกลายเป็นแม่เหล็กชิ้นใหญ่ ที่ดึงดูดทุนสื่อสารจากทั่วทุกมุมโลกให้หลั่งไหลเข้าในประเทศ
หลังจากนโยบายเปิดเสรีให้เอกชนเข้าไปลงทุนในกิจการโทรคมนาคม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
"เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ กับแค้นของทักษิณ ชินวัตร"
เชิดศักดิ์ กู้เกียรตินันท์ มีโอกาสนั่งเก้าอี้กรรมการผู้อำนวยการกลุ่มชินวัตรเพียงแค่ครึ่งปีเท่านั้น
ก็มีอันต้องหลุดจากตำแหน่งซึ่งควบคุมการบริหารงานทุกบริษัทในเครือ ลดลงไปเหลือเพียงตำแหน่ง
EXECUTIVE CHAIRMAN ของชินวัตร อินเตอร์เนชั่นแนลซึ่งเป็นกิจการด้านต่างประเทศของชินวัตร
แถมยังต้องกระเด็นจากการเป็นกรรมการผู้อำนวยการชินวัตรแซทเทิลไลท์ซึ่งรับผิดชอบโครงการดาวเทียมไทยคมพร้อมๆ
กันด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2536)
"โฟนพ้อยต์ : อุบัติเหตุการตลาด"
สินค้าโทรคมนาคมที่เข้าสู่ตลาดในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ ส่วนใหญ่จะประสบกับความสำเร็จ
แต่ "โฟนพ้อยต์" กลับเป็นข้อยกเว้น ภายในเวลาเพียงปีเศษๆ ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การตลาดถึง
3 ครั้ง พร้อมทั้งยกเครื่องทีมผู้บริหารใหม่ทั้งชุด การกำหนดตำแหน่งสินค้าในตลาดผิดพลาดตั้งแต่ตอนเริ่มต้น
คือสาเหตุสำคัญที่ทำให้โฟนพ้อยต์ต้องประสบกับความล้มเหลวในช่วงที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
"สัมปทานสมุดโทรศัพท์เดิมพัน 9,000ล้านบาท"
ตลาดสมุดโทรศัพท์มูลค่า 9,000 ล้านบาทจากฐาน 12 ล้านเลขหมาย นับว่าเป็นเดิมพันยิ่งใหญ่ที่ชักชวนให้เอกชนหลายสิบรายต้องกระโจนลงสนามนี้ โดยมีล็อกซเล่ย์ และชินวัตรฯ เป็นคู่แข่งหลักที่สมน้ำ สมเนื้อกันมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)