Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ5  
ผู้จัดการรายวัน1  
Total 6  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ยามาฮ่า มอเตอร์, บจก.


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 5 of 5 items)
"คราวเคราะห์ของ 'ชุมพล พรประภา' งานนี้ยามาฮ่าหัวเราะคนเดียว" แล้ว "ซูซูกิ" ก็แพ้ภัยตัวเองทั้ง ๆ ที่ทนอุตส่าห์ขับเคี่ยวกับคู่แข่งที่สูสีอย่างยามาฮ่ามานานหลายปี ในสมรภูมิรถจักรยานยนต์ไทย ตลาดรถจักรยานยนต์ของไทยมาถึงวันนี้ ค่อนข้างจะแน่นอนว่าฮอนด้าได้ครองอันดับหนึ่งอย่างมั่นคง อย่างน้อยก็อีกหลายปีข้างหน้า ซึ่งถ้าไม่มีอะไรพลิกผันอย่างถล่มทลาย คงยากที่ซูซูกิและยามาฮ่าจะขึ้นมาเทียบเคียงรัศมีของฮอนด้า(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
สยามยามาฮ่าจบแบบพี่น้อง ไม่เสียหายแต่ "เสียความรู้สึก" ข่าวการประนีประนอมกันระหว่างกลุ่มเคพีเอ็นของเกษมและคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช กับพรเทพ พรประภา ผู้บริหารของสยามกลการในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่สยามยามาฮ่าเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2538 ซึ่งมีนายชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ผลลัพธ์ก็คือ กลุ่มเคพีเอ็นยอมตกลงซื้อหุ้นในบริษัท สยามยามาฮ่า จำนวน 67.78% จากสยามกลการ และ 16.09% จากดร.ถาวร พรประภา ในราคาร1,217 ล้านบาท และ 289 ล้านบาท ตามลำดับ (นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ยามาฮ่าในเงื้อมมือคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช การตัดสินใจของ "ยามาฮ่า" ประเทศญี่ปุ่น ในการจับมือเป็นพันธมิตรกับกลุ่มเคพีเอ็นของเกษม และคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช ถือเป็นเรื่องรวดเร็ว และเกินคาดหมาย อีกทั้งยังเป็นช่วง "ร้อนระอุ" ของสงครามระหว่างสองพี่น้อง(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
ยามาฮ่ากลัว "พรเทพ"ผู้ขายทุกอย่างที่ขวางหน้า ? ทำไมยามาฮ่าไม่ต่อสัญญาความร่วมมือทางเทคนิคกับสยามยามาฮ่า ซึ่งถือหุ้นใหญ่โดยสยามกลการ หรือพูดง่ายๆ ทำไมยามาฮ่า มอเตอร์ ไม่เลือกสยามกลการซึ่งเป็นคู่ค้าเก่าแก่กันมานานกว่า 30 ปี ดูเหมือนจะเป็นคำถามที่ทุกฝ่ายพยายามหลีกเลี่ยงที่จะพูดถึง หรือหากจะตอบก็ตอบแบบเลี่ยงๆ(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
เจ้าตลาดจักรยานยนต์คนใหม่ เกษม ณรงค์เดช จักรยานยนต์ไทย ที่สี่ของโลก อุตสาหกรรมการผลิต และประกอบรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย อาจกล่าวได้ว่าเข้มแข็งมากแห่งหนึ่งของโลกด้วยตลาดในประเทศที่มารองรับมากกว่าปีละหนึ่งล้านคัน(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us