Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
ผู้จัดการรายวัน2  
Total 11  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > เอ็มเอ็มซี สิทธิผล


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 9 of 9 items)
"มิตซูบิชิ มอเตอร์ บุกไทย กลับเป็นชัยชนะของ"พรรณเชษฐ์" การเข้ามาของมิตซูบิชิ มอเตอร์แห่งประเทศญี่ปุ่น ในการครอบงำกิจการของเอ็มเอ็มซี สิทธิผลนั้น แม้จะยังคลุมเครือในเรื่องของตัวเลขว่าสุดท้ายแล้วญี่ปุ่นจะถืออยู่เท่าไรและฝ่ายไทยจะเหลือไว้เท่าไร แต่ขณะนี้ก็น่าจะได้บทสรุปว่า ไทยจะกลายเป็นฐานบัญชาการสำคัญของมิตซูบิชิ มอเตอร์ ในระดับโลก ในอีกไม่กี่วันข้างหน้า(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
"เอ็มเอ็มซี สิทธิผล สู่อนาคตที่ยังเลือนลาง แต่ยังต้องไป!" เมื่อเอ็มเอ็มซี สิทธิผล ก้าวขึ้นเป็นฐานกรผลิตหลักของมิตซูบิชิ มอเตอร์ คอร์ป น่าสนใจว่า ทางเดินต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร และแท้จริงแล้ว ญี่ปุ่นมองฐานการผลิตในไทยไว้ระดับใด ที่มั่นใจว่าจะผงาดขึ้นเป็นเบอร์หนึ่งของภูมิภาคนี้ได้นั้น ในชั้นนี้ จะฉกฉวยความได้เปรียบไว้ได้มากน้อยแค่ไหน ลำพังการส่งออกก็ใช่ว่าจะสำเร็จได้โดยง่าย ยิ่งสถานการณ์ของ มิตซูบิชิ ในไทยตกต่ำอย่างมากด้วยแล้ว การพลิกฟื้นสถานภาพจะทำได้หรือไม่เหล่านี้ วัชระ พรรณเชษฐ์ เตรียมแผนงานไว้มากทีเดียว(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
"ปัญหาคาใจ "วิญญาณ ร่างกาย" ญี่ปุ่นจะให้ไทยอย่างไร? สำหรับฐานการผลิตในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ่งเป็นโรงงานแห่งที่ 4 ของเอ็มเอ็มซี สิทธิผล นั้น กล่าวได้ว่า ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ปิกอัพมาจากมิตซูบิชิ มอเตอร์ส คอร์ปอเรชั่น เกือบจะทุกด้าน จะขาดก็เพียงงานวิจัยและพัฒนาเท่านั้น(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
MMC สิทธิผล ฝ่าพายุภาษี "มิตซูบิชิ" เป็นรถค่ายญี่ปุ่นค่าเดียวที่ไม่ร่วมสังฆกรรมกับกลุ่มสยามและ AIGOT ในกรณีรุกรัฐบาลปรับภาษีการค้าใหม่สำหรับรถยนต์ภายในประเทศ และมิตซูบิชิยังสวนกระแสด้วยการลงทุนสร้างโรงงานประกอบรถยนต์ครบวงจรแห่งที่สามที่แหลมฉบัง(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
จากคลื่นลูกแรก "กนก ลี้อิสสระนุกูล" สู่คลื่นลูกที่สาม "วัชระ พรรณเชษฐ์" ในปี 2499 กนก ลี้อิสรระนุกูล ได้ชื่อว่าเป็น บุคคลที่เสียภาษีเงินได้บุคคลมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของประเทศจนกระทั้งได้รับหนังสือสำคัญชมเชยจากจอมพล ป.พิบูลสงคราม(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
KEIRETSU ของมิตซูบิชิกรุ๊ประบบพึ่งพาโดยไม่เป็นเจ้าของ ในเมืองไทย เครื่องหมายการค้ารูป THREE DIAMOND ของมิตซูบิชิเป็น BRAND IMAGE ที่แข็งแกร่งมาก โฆษณาก็คุ้นหูคุ้นตามาแสนนาน แต่การบริหารผลิตภัณฑ์ต่างก็มีบริษัทแยกกันเป็นเอกเทศตามประเภทธุรกิจคือ(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
รถยนต์ปี'34 วิ่งไม่ติดเบรก ครึ่งปีแรกของบรรดายักษ์ใหญ่ยักษ์เล็กในอุตสาหกรรมยานยนต์ ไม่ว่าจะเป็นโตโยต้านิสสัน ฮอนด้า หรือแม้กระทั่งรถค่ายยุโรป เช่น วอลโว่ หรือบีเอ็มดับเบิลบลิว ต่างพูดเป็นเสียงเดียวเดียวกันว่า ไม่กระทบกระเทือนจากภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจ สืบเนื่องจากปีทองของยอดขายรถยนต์ดีมาตลอดสามปี แต่ครึ่งปีหลังของปีนี้ ยังเป็นเรื่องน่าเป็นห่วง ตราบใดที่ราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเช่าซื้อยังสูงไม่หยุดเช่นนี้!!(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
แชมป์ทูกับกองทัพไทย สงครามรถยนต์ ที่รอวันปะทุของสิทธิผล กระแสข่าวที่บ่งบอกให้เห็นว่า กองทัพไทยในยุค "พัฒนา" จะลงมาเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจรถยนต์ในบ้านเรา โดยวางโครงการยิ่งใหญ่ ให้เอ็ม.เอ็ม.ซี. สิทธิผลขายรถมิตซูบิชิรุ่นแชมป์ทูจำนวน 2 หมื่นคัน แก่กองทัพไทย โดยที่ทางกองทัพจะร่วมลงทุนผลิตชิ้นส่วนบางประเภทให้ด้วย(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
"เอ็ม เอ็ม ซี สิทธิผล ก้าวใหม่รถยนต์ไทยไทยทำฝรั่งใช้" กลุ่มสิทธิผลมีความเป็นมายาวนานเกือบ 70 ปีในอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย นับย้อนไปตั้งแต่ กนก อิสสระนุกูล เริ่มต้นธุรกิจด้วยการตั้งร้านซ่อมจักรยานพร้อมกับเป็นตัวแทนจำหน่ายจักรยานจากอังกฤษด้วย หลังจากนั้นก็ค่อย ๆ ขยับขยายธุรกิจออกไปเรื่อย ๆ ด้วยความสามารถและสายตาที่ยาวไกล(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us